ส่วนที่ 1
บทสรุปสำหรับผู้บริหาร


1. การพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา

1.ผลสัมฤทธิ์
1.1 ด้านการจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา
    สถานศึกษามีการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี ตามประการกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อมาตรฐานการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีที่สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษากำหนด ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน
    ขั้นตอนที่ 1 ขั้นเตรียมความพร้อมในการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี
    ขั้นตอนที่ 2 ขั้นวางแผนในการการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี
    ขั้นตอนที่ 3 ขั้นจัดการเรียนการสอนการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี
             ขั้นตอนที่ 4 ขั้นติดตาม ตรวจสอบคุณภาพภายในการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี
    ขั้นตอนที่ 5 ขั้นสรุปรายงานผลการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี
 
1.2 ด้านการนำนโยบายสู่การปฏิบัติ
    ครูผู้สอนวิเคราะห์หลักสูตรรายวิชา มีการจัดทำแผนการเรียนรู้ บรูณาการคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม คุณลักษณ์ที่พึงประสงค์ และปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีการกำหนดรูปแบบการเรียนรู้สู่การปฏิบัติ และการจัดการเรียนรู้ที่หลากหลาย มีการดำหนดการใช้สื่อเครื่องมือ อุปกรณ์ และเทคโนโลยี การจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสม และนำมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน มีการกำหนอเเนวทาง การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง ด้วยรูปแบบวิธีการที่หลากหลาย
 
1.3 ด้านการบริหารจัดการ
     ผู้บริหารสถานศึกษาให้ครูและบุคลากรทางการศึกษามีส่วนร่วมในการกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา จัดทำแผนพัฒนาสถานศึกษาและแผนปฏิบัติราชการประจำปี หรือแผนปฏิบัติงานประจำปี และได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมสถานศึกษา ครูและบุคลากรทางการศึกษามีส่วนร่วมในการดำเนินงานโครงการของสถานศึกษา โดยใช้หลักธรรมาภิบาลในการบริหารสถานศึกษา ใช้นวัตกรรมในการบริหารจัดการสถานศึกษา
 
 
2.จุดเด่น
2.1) สถานศึกษาประสบความสำเร็จในระบบดูแลและแนะแนวผู้เรียน ส่งผลให้มีผู้สำเร็จการศึกษาสูงกว่าร้อยละ 80 ซึ่งอยู่ในระดับคุณภาพยอดเยี่ยม ส่งผลให้ ผู้สำเร็จการศึกษาอาชีวศึกษามีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตามมาตรฐานที่สถานศึกษากำหนดด้าน ความรู้ ด้านทักษะและการประยุกต์ใช้ และ ด้านคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะที่พึงประสงค์  ซึ่งในการดำเนินการระบบดูแลและแนะแนวผู้เรียน ของสถานศึกษา ทำให้ มีผู้สำเร็จการศึกษาสูงขึ้น มีผู้สำเร็จการศึกษามีงานทำหรือศึกษาต่อ ร้อยละ 85.01 สถานประกอบการพึงพอใจต่อผู้สำเร็จการศึกษาที่มีงานทำ
2.2) - สถานศึกษาการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีทั้งในและต่างประเทศ
    - สถานศึกมีภูมิทัศน์ที่สวยงาม อาคารสถานที่ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ โรงฝึกงาน หรืองานฟาร์มที่เอื้อต่อการจัดการเรียนการสอน
   - มีการระดมทรัพยากรเพื่อการจัดการเรียนการสอน
2.3) โครงการต่างๆภายในวิทยาลัยฯ
1. โครงการชีววิถีเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน ประเภทที่ 1 การดำเนินงานภายในวิทยาลัยดีเด่น ปีการศึกษา 2561
2. โครงการการพัฒนาเพื่อขับเคลื่อนสถานศึกษาพอเพียง ปีงบประมาณ 2561
3. โครงการ Fix it Center ปีการศึกษา 2561
4. โครงการฝึกอบรมและพัฒนาเกษตรกรให้เป็น Smart Farmer ประจำปีงบประมาน พ.ศ. 2561 หลักสูตรการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากผลผลิตทางการเกษตรสู่ธุรกิจการท่องเที่ยว
6. โครงการฝึกอบรมหลักสูตรระยะสั้นเพื่อมอบเป็นของขวัญให้แก่ประชาชน ในช่วงเทศกาลปีใหม่ 2561 หลักสูตรการแปรรูปผลิตภัณฑ์เกษตร
7. โครงการฝึกอบรมหลักสูตรระยะสั้นเพื่อมอบเป็นของขวัญให้แก่ประชาชน ในช่วงเทศกาลปีใหม่ 2561 หลักสูตรการผลิตผลิตภัณฑ์คุกกี้
8. โครงการอาชีวะพัฒนาค่านิยมไทย : เกษตรทฤษฎีใหม่และวัฒนธรรมท้องถิ่น หลักสูตร การปลูกผักปลอดสารพิษและการเลี้ยงสัตว์อินทรีย์ ปีงบประมาณ 2561
9. โครงการส่งเสริมการพัฒนาทักษะอาชีพให้กับผู้เรียนตามนโยบายลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้
1-31 สิงหาคม 2561
10. กิจกรรมสัมพันธ์ชุมชน โครงการ 108 อาชีพโดยชมรมวิชาชีพอุตสาหกรรมเกษตร
11.โครงการกิจกรรม OPEN HOUSE  ปีการศึกษา 2561
 
3. จุดที่ควรพัฒนา
- การส่งเสริมผู้เรียน ด้านทักษะภาษา ได้แก่ภาษาไทย  และภาษาอังกฤษ
-การส่งเสริมผู้เรียน ด้านทักษะการคิด วิเคราะห์ และการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
- ครูผู้สอนที่มีนวัตกรรมจากการพัฒนาตนเองและการพัฒนาวิชาชีพที่ได้รับการยอมรับ หรือเผยแพร่
- จัดทำแผนงาน โครงการ อย่างต่อเนื่อง
 
4. ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา
-เพิ่มงบประมาณ ด้านนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ งานวิจัย
-ควรปรับพื้นฐานผู้เรียน ด้านทักษะภาษาภาษาไทย  ภาษาอังกฤษ และ ทักษะการคิด วิเคราะห์ และการคิดอย่างมีวิจารณญาณ  โดยมีเป้าหมายการพัฒนาผู้สำเร็จการศึกษาให้มีผลคะแนนเฉลี่ยจากการทดสอบทางการศึกษาของสถานศึกษาสูงกว่าค่าเฉลี่ยระดับชาติ
- ควรสนับสนุน ส่งเสริมให้ครูมีนวัตกรรมจากการพัฒนาตนเองและการพัฒนาวิชาชีพที่ได้รับการยอมรับ หรือเผยแพร่ เพิ่มขึ้น
 
 

2. การสร้างความเชื่อมั่นให้แก่ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องและสถานประกอบการ

- ได้รับรางวัลจากการประกวดผลงานโครงการชีววิถีเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
     ประเทภที่ 1 การดำเนินงานภายในวิทยาลัยฯ ดีเด่น ชนะอันดับ 1 ระดับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
     ประเทภที่ 1 การดำเนินงานภายในวิทยาลัยฯ ดีเด่น ชนะอันดับ 2 ระดับประเทศ
     ประเทภที่ 2 ครู บุคลากรทางการศึกษานำไปใช้และขยายผลดีเด่น ชนะอันดับ 1 ระดับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
     ประเทภที่ 2 ครู บุคลากรทางการศึกษานำไปใช้และขยายผลดีเด่น ชนะอันดับ 1 ระดับประเทศ
     ประเทภที่ 3 นักศึกษาปัจจุบันนำไปใช้และขยายผลดีเด่น ชนะอันดับ 3 ระดับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
     ประเทภที่ 4 ราษฎรที่ได้รับความรู้จากวิทยาลัยและใช้ได้ผลดีเด่น ชนะอันดับ 1 ระดับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
     ประเทภที่ 4 ราษฎรที่ได้รับความรู้จากวิทยาลัยและใช้ได้ผลดีเด่น ชนะอันดับ 2 ระดับประเทศ
     ประเทภที่ 5 ชุมชนที่ได้รับความรู้จากวิทยาลัยฯและใช้ได้ผลดีเด่น ชนะอันดับ 2 ระดับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
     ประเภทที่ 8 งานวิจัยโครงการชีววิถีดีเด่น ชนะอันดับ 3 ระดับประเทศ
- ผู้เรียนได้รับรางวัลจากการแข่งขันทักษะวิชาชีพ ในการประชุมวิชาการองค์การเกษตรกรในอนาคตแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพพระรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีประจำปีการศึกษา 2561 ระดับภาค 89 คน ณ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีนครราชสีมา และระดับชาติ 85 คน ณ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีพะเยา
- ผู้เรียนที่สำเร็จการศึกษา มีงานทำ ศึกษาต่อ และประกอบอาชีพอิสระ

3. การจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่บรรลุเป้าประสงค์ของหน่วยงานต้นสังกัด

นักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) และนักศึกษาระดับวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) สามารถสำเร็จการศึกษาได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด

4. การพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาที่เป็นแบบอย่างที่ดี (Best Practice)

โครงการชีววิถีเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
1) ความเป็นมาและความสำคัญ
การดำเนินงานโครงการชีววิถีเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน เป็นโครงการที่การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
ได้น้อมนำแนวทางพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียง ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ มาเพื่อส่งเสริมความรู้แก่สังคม
 ในการดำเนินชีวิตแบบพึ่งพาตนเอง มีความเอื้ออาทรต่อกันและด้วยเจตจำนงที่จะให้โครงการดังกล่าว ขยายผลอย่างกว้างขวาง จึงได้จัดให้มีการลงนามระหว่างการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยกับสำนักงานคณะกรรมการการ
อาชีวศึกษาเพื่อนำโครงการชีววิถี เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน เข้าสู่วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี เป็นการประสานประโยชน์ในการนำจุลินทรีย์ที่มีประสิทธิภาพ ให้ครูและนักเรียนนักศึกษา ไปขยายผลในสถานศึกษาและคาดหวัง
ว่านักเรียนนักศึกษาจะสามารถนำกลับไปใช้ในชีวิตประจำวัน
รัฐบาลได้สนองพระราชดำริ เศรษฐกิจพอเพียง ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯโดยรณรงค์ให้ทุกภาคส่วน ร่วมกันพัฒนากลุ่มเป้าหมายให้เกิดความยั่งยืนซึ่งวิทยาลัย ได้รับมอบหมายจากสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
ให้ดำเนินโครงการชีววิถีเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน โดยความร่วมมือกับ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย และบูรณาการโครงการนี้กับโครงการและงานต่างๆ ของวิทยาลัย ในการดังกล่าวได้กำหนดให้มีการจัดทำแปลงสาธิต
และขยายผลโครงการให้แพร่หลายการดำเนินโครงการต้องอาศัยความร่วมมือกับหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกวิทยาลัย
เพื่อก่อให้เกิดผลดีต่อกลุ่มประชาชนเป้าหมาย วิทยาลัยได้บูรณาการโครงการชีววิถีเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนกับโครงการศูนย์แลกเปลี่ยนเรียนรู้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  โครงการอาชีวะเพื่อแก้ปัญหาความยากจน  
โครงการฝึกอบรมและบริการวิชาชีพโครงการทฤษฎีใหม่โครงการสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนโครงการสอนรายวิชาต่างๆ ตลอดจนงานบริการชุมชนอื่นๆ
      ทั้งนี้เพื่อเป็นการส่งเสริมและพัฒนาทรัพยากรบุคคลในภาคเกษตร และผู้สนใจทั่วไปเพื่อที่จะให้ประชาชน
ได้มีสภาพชีวิต  มีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นเป็นการสร้างองค์ความรู้พื้นฐาน และด้านการเกษตรของประชาชน ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญ ที่จะช่วยให้ประชาชนนำความรู้ไปปรับปรุงการประกอบอาชีพให้มีประสิทธิภาพ 
สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม
2) วัตถุประสงค์
1. เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านการปลูกพืช การเลี้ยงสัตว์ประมง และสิ่งแวดล้อมของประชาชน
2. เพื่อเป็นแบบอย่างในการขยายผลสู่ชุมชน  โรงเรียนและหน่วยงานต่างๆ
 
3) วิธีการดำเนินงาน
1.เสนอขออนุมัติโครงการ
2.จัดตั้งทีมงานและเสนอวิทยาลัยฯ ออกคำสั่ง
3.ประชุมคณะทำงาน
4.ดำเนินการปรับปรุงแปลงสาธิต ประสานงานและสำรวจความต้องการของโรงเรียนและชุมชน
5.เตรียมวัสดุ อุปกรณ์
6.ดำเนินการตามแผนที่กำหนด
7.สรุปและรายงานผลการดำเนินงาน
 
4) ผลการดำเนินงาน
- ได้รับรางวัลจากการประกวดผลงานโครงการชีววิถีเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
     ประเทภที่ 1 การดำเนินงานภายในวิทยาลัยฯ ดีเด่น ชนะอันดับ 1 ระดับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
     ประเทภที่ 1 การดำเนินงานภายในวิทยาลัยฯ ดีเด่น ชนะอันดับ 2 ระดับประเทศ
     ประเทภที่ 2 ครู บุคลากรทางการศึกษานำไปใช้และขยายผลดีเด่น ชนะอันดับ 1 ระดับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
     ประเทภที่ 2 ครู บุคลากรทางการศึกษานำไปใช้และขยายผลดีเด่น ชนะอันดับ 1 ระดับประเทศ
     ประเทภที่ 3 นักศึกษาปัจจุบันนำไปใช้และขยายผลดีเด่น ชนะอันดับ 3 ระดับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
     ประเทภที่ 4 ราษฎรที่ได้รับความรู้จากวิทยาลัยและใช้ได้ผลดีเด่น ชนะอันดับ 1 ระดับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
     ประเทภที่ 4 ราษฎรที่ได้รับความรู้จากวิทยาลัยและใช้ได้ผลดีเด่น ชนะอันดับ 2 ระดับประเทศ
     ประเทภที่ 5 ชุมชนที่ได้รับความรู้จากวิทยาลัยฯและใช้ได้ผลดีเด่น ชนะอันดับ 2 ระดับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
     ประเภทที่ 8 งานวิจัยโครงการชีววิถีดีเด่น ชนะอันดับ 3 ระดับประเทศ
 
5) ประโยชน์ที่ได้รับ
1.แก้ปัญหาความยากจนของประชาชนให้มีความอยู่ดีกิน
2.นักเรียน นักศึกษาได้ฝึกประสบการณ์บริการวิชาชีพ

       3.นักเรียน นักศึกษาได้รับความรู้ประสบการณ์ ด้านการปลูกพืช การเลี้ยงสัตว์ ประมง และสิ่งแวดล้อม 

2.1 ข้อมูลพื้นเกี่ยวกับสถานศึกษา

  ที่อยู่
  วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีมหาสารคาม 147 ถนนแจ้งสนิท ตำบลเขวา อำเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม รหัสไปรษณีย์ 44000  
อยู่ติดถนนเอเชียหมายเลขที่ 14  ช่วงระหว่างจังหวัดมหาสารคามกับจังหวัดร้อยเอ็ด ตรงกับ หลักกิโลเมตรที่ 13
  โทรศัพท์ 043-750436  โทรสาร 043-750437
  E-mail mcat2550@hotmail.com  Website http://www.mcat.ac.th/
  ประวัติสถานศึกษา
  วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีมหาสารคาม สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา โดยใช้พื้นที่สาธารณะประโยชน์  รวมทั้งสิ้น 854  ไร่  
ปีพุทธศักราช 2522  รัฐบาลได้กำหนดให้เป็นปีเกษตรกร กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศจัดตั้งวิทยาลัย เกษตรกรรมขึ้น 10  แห่งทั่วประเทศ
วิทยาลัยเกษตรกรรมมหาสารคาม เป็น ใน 10  แห่งที่ได้รับประกาศจัดตั้ง เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2522 เพื่อจัดการศึกษาทางด้านอาชีวเกษตร
ต่อมาในปีพุทธศักราช 2537  กระทรวงศึกษาธิการ จัดตั้งวิทยาลัยชุมชนนครจำปาศรีขึ้นในวิทยาลัยเกษตรกรรมมหาสารคาม เมื่อวันที่ 12 กันยายน 2537
ภายใต้การบริหารงานของบุคลากร วิทยาลัยเกษตรกรรมมหาสารคาม เพื่อให้มีการจัดการ 26  กันยายน 2539 วิทยาลัยเกษตรกรรมมหาสารคามได้รับการ
เปลี่ยนชื่อใหม่เป็น วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีมหาสารคาม (Mahasarakham  College of Agriculture  and  Technology )  เปิดสอนในระดับ
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ  (ปวช.)  ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)  และระดับปริญญาตรี  หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต (ทล.บ.)    
  การจัดการศึกษา
  วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีมหาสารคามจัดการศึกษา 2 ระบบ คือ ระบบปกติและระบบทวิภาคีโดยเปิดทำการสอน 2 หลักสูตร ได้แก่ 
หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พ.ศ. 2556 และหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พ.ศ. 2557 ดังนี้
           หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) เปิดสอน 3 ประเภทวิชา 8 สาขาวิชา ดังนี้
           1.  ประเภทวิชาเกษตรกรรม เปิดสอน 5 สาขาวิชา ได้แก่
               1) เกษตรศาสตร์
                   1.สาขางานการเกษตร
                   2. สาขางานพืชศาสตร์
                   3. สาขางานสัตวศาสตร์
                   4. สาขางานช่างกลเกษตร
                   5. สาขางานอุตสาหกรรมเกษตร
           2.  ประเภทวิชาพาณิชยกรรม เปิดสอน 2 สาขาวิชา ได้แก่
                   1. สาขาวิชาการบัญชี
                   2. สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
           3.  ประเภทวิชาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว เปิดสอน 1 สาขาวิชา ได้แก่
                   1. สาขาวิชาการโรงแรม
  สภาพชุมชน
  วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีมหาสารคาม สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ตั้งอยู่เลขที่ 147 ถนนแจ้งสนิท ตำบลเขวา อำเภอเมือง 
จังหวัดมหาสารคาม รหัสไปรษณีย์ 44000  โทรศัพท์. 043-750436 โทรสาร. 043-750437 อยู่ติดถนนเอเชียหมายเลขที่ 14  ช่วงระหว่างจังหวัดมหาสารคาม
กับจังหวัดร้อยเอ็ด ตรงกับ หลักกิโลเมตรที่ 13 โดยใช้พื้นที่สาธารณะประโยชน์  รวมทั้งสิ้น 854  ไร่
  สภาพเศรษฐกิจ
  ภูมิประเทศเป็นที่ราบ ไม่มีภูเขา พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นทุ่งนา อาชีพที่สำคัญของชุมชนที่ตั้งอยู่บริเวณโดยรอบวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีมหาสารคาม 
คือการเพาะปลูกและเลี้ยงสัตว์
  สภาพสังคม

  วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีมหาสารคาม  เป็นสถานศึกษาที่เปิดสอน    ระดับการศึกษา  คือระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ  (ปวช.)  หลักสูตร    ปี ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง  (ปวส.)  หลักสูตร    ปี  ทั้งนี้ในระดับระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพได้จัดการศึกษาตามโครงการเรียนฟรี๑๕ ปี เหมือนกับสถานศึกษาแห่งอื่นๆ   วิทยาลัยได้รับงบประมาณในการจัดหอพักให้อยู่อาศัยฟรีสำหรับผู้เข้ามาศึกษา รวมทั้งมีอาหารให้ฟรี ๓มื้อ ตามโครงการ  “เรียนฟรี  อยู่ประจำ  ทำโครงการ”  ซึ่งส่งผลให้เกษตรกรและผู้มีฐานะยากจนสามารถส่งบุตรหลาน เข้ามาศึกษาต่อได้  เป็นการขยายโอกาสทางการศึกษาให้กับผู้ด้อยโอกาส  โดยผู้เข้ามาศึกษาต่อได้รับการอบรม ด้านคุณธรรม  จริยธรรม  การอยู่ร่วมกันและเปิดโอกาสให้นักเรียน  นักศึกษาได้แสดงความสามารถตามความถนัดของตนเองทั้งด้านการกีฬา  นันทนาการ  การแสดงดนตรีพื้นเมือง  ทั้งนี้ทางวิทยาลัยได้จัดครูพี่เลี้ยงประจำหมู่บ้านโครงการปฏิรูปการศึกษาเกษตรเพื่อชีวิตทั้งชายและหญิงให้การดูแลเอาใจใส่อย่างใกล้ชิดแก่นักเรียน นักศึกษา มีห้องปฐมพยาบาล  ทั้งในวิทยาลัย  และที่พักนักเรียน นักศึกษา  เมื่อนักเรียน  นักศึกษาเจ็บป่วยสามารถเข้ารับการรักษา  หรือถ้ามีอาการรุนแรงก็จะนำส่งสถานพยาบาล ทั้งนี้ให้ผู้ปกครองมีความมั่นใจว่าทางวิทยาลัย  ได้ดูแลเอาใจใส่บุตรหลานของตนเองเป็นอย่างดี

 

2.2 แผนภูมิการบริหารของสถานศึกษา

2.3 ข้อมูลของสถานศึกษา

  ข้อมูลผู้เรียน

ระดับชั้น

ปกติ

ทวิภาคี

ทวิศึกษา

รวม

ปวช.1

162

556

0

718

ปวช.2

133

230

0

363

ปวช.3

128

57

0

185

รวม ปวช.

423

843

0

1266

 

ระดับชั้น

ปกติ

ทวิภาคี

รวม

ปวส.1

237

0

237

ปวส.2

162

0

162

รวม ปวส.

399

0

399

  ข้อมูลผู้สำเร็จการศึกษา ปีการศึกษา 2560

ระดับชั้น

แรกเข้า

สำเร็จการศึกษา

คิดเป็นร้อยละ

ปวช.3

284

140

49.30

ปวส.2

361

127

35.18

รวม

645

267

41.40

  ข้อมูลผู้สำเร็จการศึกษา ปีการศึกษา 2561

ระดับชั้น

แรกเข้า

สำเร็จการศึกษา

คิดเป็นร้อยละ

ปวช.3

185

136

73.51

ปวส.2

162

154

95.06

รวม

347

290

83.57

  ข้อมูลบุคลากร

ประเภท

ทั้งหมด(คน)

มีใบประกอบวิชาชีพ(คน)

สอนตรงสาขา(คน)

ผู้บริหาร/ ผู้รับใบอนุญาตผู้จัดการ/ ผู้อำนวยการ/ รองผู้อำนวยการ/ ผู้ช่วยผู้อำนวยการ

5

5

ข้าราชการครู/ ครูเอกชนที่ได้รับการบรรจุ/ ผู้ที่ได้รับการรับรอง

37

37

37

ข้าราชการพลเรือน

1

พนักงานราชการครู

12

12

12

พนักงานราชการ(อื่น)

1

ครูพิเศษสอน

6

1

1

เจ้าหน้าที่

16

บุคลากรอื่นๆ (นักการภารโรง/ ยามรักษาการ/ พนักงานขับรถ/ ฯ)

20

รวม ครู

55

50

50

รวมทั้งสิ้น

98

50

50

  ข้อมูลหลักสูตรการเรียนการสอน

ประเภทวิชา

ระดับ ปวช.(สาขาวิชา)

ระดับ ปวส.(สาขาวิชา)

รวม(สาขาวิชา)

อุตสาหกรรม

0

0

0

พาณิชยกรรม

2

3

5

ศิลปกรรม

0

0

0

คหกรรม

0

0

0

เกษตรกรรม

5

4

9

ประมง

0

0

0

อุตสาหกรรมท่องเที่ยว

1

1

2

อุตสาหกรรมสิ่งทอ

0

0

0

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

0

0

0

รวมทั้งสิ้น

8

8

16

  ข้อมูลอาคารสถานที่

ประเภทอาคาร

จำนวน(หลัง)

อาคารเรียน

7

อาคารปฏิบัติการ

2

อาคารวิทยบริการ

1

อาคารอเนกประสงค์

3

อาคารอื่น ๆ

55

รวมทั้งสิ้น

68

  ข้อมูลงบประมาณ

ประเภทงบประมาณ

จำนวน(บาท)

งบบุคลากร

46800000.00

งบดำเนินงาน

8630800.00

งบลงทุน

1067400.00

งบเงินอุดหนุน

8830000.00

งบรายจ่ายอื่น

2009000.00

รวมทั้งสิ้น

67337200.00

2.4 ปรัชญา อัตลักษณ์ เอกลักษณ์ ของสถานศึกษา

  ปรัชญา
  ทักษะเยี่ยม เปี่ยมภูมิรู้ คู่คุณธรรม นำชุมชน
  อัตลักษณ์
  วินัย รับผิดชอบ สะอาด
  เอกลักษณ์
  สร้างคนดีสู่สังคัม อบรมวิชาการ บนฐานเศรษฐกิจพอเพียง

2.5 วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา

  วิสัยทัศน์
  พัฒนาสถานศึกษาเป็นแหล่งเรียนรู้ คู่คุณธรรม ผู้นำอาชีพ
  พันธกิจ
  1.พัฒนาสถานศึกษาเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านเกษตรอินทรีย์
2.เสริมสร้างเครือข่ายความร่วมมือกับชุมชน
3.ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ
4.เสริมสร้างผู้เรียนมีประสบการณ์วิชาชีพ ปลูกจิตอาสา บริการสังคม
5.พัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะอาชีพได้มาตรฐานเป็นที่ยอมรับของสังคม
6.เสริมสร้างผู้เรียนให้มีความรู้และทักษะวิชาชีพแบบมืออาชีพ
  เป้าประสงค์
  1.แหล่งเรียนรู้ด้านเกษตรอินทรีย์
2.สร้างเครือข่ายความร่วมมือกับชุมชน
3.ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม
4.สร้างประสบการณ์วิชาชีพ ปลูกจิตอาสา บริการสังคม
5.พัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะอาชีพ 
6.สร้างผู้เรียนให้มีความรู้และทักษะวิชาชีพแบบมืออาชีพ
  ยุทธศาสตร์
  ยุทธศาสตร์                
ยกระดับคุณภาพผู้เรียนเข้าสู่มาตรฐานสากล
เพิ่มปริมาณผู้เรียนสายอาชีพให้เพียงพอกต่อความต้องการของประเทศ
ส่งเสริมการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนในการจัดอาชีวศึกษา
เพิ่มประสิทธิภาพบริหารจัดการให้มีมาตรฐานและคุณภาพโดยใช้หลักธรรมาภิบาล
  กลยุทธ์
  กลยุทธ์ที่ พัฒนาการทำเกษตรอินทรีย์อย่างเป็นระบบ                      
                        มาตรการที่ 1        ศูนย์เรียนรู้ด้านเกษตรอินทรีย์
                        มาตรการที่ 2        งานฟาร์มต้นแบบ  
                        มาตรการที่ 3 พัฒนาระบบน้ำเพื่อการเกษตร
                        มาตรการที่ 4        ศูนย์แลกเปลี่ยนเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง
กลุยุทธ์ที่ สร้างเครือข่ายความร่วมมือกับชุมชน                        
                        มาตรการที่ 1        จัดฝึกอบรมและพัฒนาอาชีพ
                        มาตรการที่ 2        สนับสนุนชีววิถีเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
                        มาตรการที่ 3 ร่วมมือกิจกรรมเยี่ยมเยียนประชาชน
                        มาตรการที่ 4        สร้างความเข้มแข็งสร้างเครือข่ายความร่วมมือกับชุมชน
                        มาตรการที่ 5        ส่งเสริมวิถีเกษตรอินทรีย์      
                        มาตรการที่ 6        พัฒนาเครือข่ายสร้างผู้ประกอบการใหม่
กลยุทธ์ที่ 3   ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม                     
                        มาตรการที่ 1        ส่งเสริมกิจกรรมจิตสงบ พบธรรมะ
                        มาตรการที่ 2        สืบสานประเพณี วัฒนธรรม
                        มาตรการที่ 3        พัฒนาจิตเฉลิมพระเกียรติ    
                        มาตรการที่ 4        เสริมสร้างกิจกรรมค่ายคุณธรรม
                        มาตรการที่ 5        สนับสนุนประกวดสถานศึกษาคุณธรรม
                        มาตรการที่ 6        ปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม     
กลยุทธ์ที่ สร้างประสบการณ์วิชาชีพ ปลูกจิตอาสา บริการสังคม    
                        มาตรการที่ 1        ส่งเสริมกิจกรรมชมรมวิชาชีพ
                        มาตรการที่ 2        สนับสนุกิจกรรมค่ายอาสาพัฒนา
                        มาตรการที่ 3        ร่วมกิจกรรม to be number one
                        มาตรการที่ 4        ปลูกจิตสำนึกอนุรักษ์ธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
                        มาตรการที่ 5        สนับสนุนการประชุมวิชาการแข่งขันทักษะ (อกท.)
กลยุทธ์ที่ พัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะอาชีพ                
                        มาตรการที่ 1        พัฒนาสมรรถนะอาชีพ        
                        มาตรการที่ 2        พัฒนาฐานเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง
                        มาตรการที่ 3        จัดการเรียนรู้บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
                        มาตรการที่ 4        ส่งเสริมนักเรียนต้นแบบเศรษฐกิจพอเพียง
                        มาตรการที่ 5        พัฒนาผู้เรียนรู้จริงปฏิบัติจริง
กลยุทธ์ที่ 6   สร้างผู้เรียนให้มีความรู้และทักษะวิชาชีพแบบมืออาชีพ
                        มาตรการที่ 1        สนับสนุนการศึกษาดูงานสถานประกอบการ
                        มาตรการที่ 2        ส่งเสริมการฝึกงานสถานประกอบการ
                        มาตรการที่ 3        สร้างและพัฒนาเครือข่ายอาชีวศึกษาเกษตร
                        มาตรการที่ 4        ส่งเสริมการหารายได้ระหว่างเรียน
                                     ทั้งในประเทศและระดับนานาชาติ       

2.6 เกียรติประวัติของสถานศึกษา

  รางวัลและผลงานของสถานศึกษา ปีการศึกษา 2560

รายการ

รางวัล

ระดับ

ให้โดย

  รางวัลและผลงานของสถานศึกษา ปีการศึกษา 2561

รายการ

รางวัล

ระดับ

ให้โดย

ประเภทที่ 1 การดำเนินงานภายในวิทยาลัยดีเด่น

ชนะเลิศ

ภาค

การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย

  รางวัลและผลงานของครูและบุคลากรทางการศึกษา  ปีการศึกษา 2560

ชื่อ-สกุล/รายการ

รางวัล

ระดับ

ให้โดย

  รางวัลและผลงานของครูและบุคลากรทางการศึกษา  ปีการศึกษา 2561

ชื่อ-สกุล/รายการ

รางวัล

ระดับ

ให้โดย

นายดุสิต สะดวก
การประกวดผลงานโครงการชีววิถีเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน ประเภทที่ 2 ครู บุคลากรทางการศึกษานำไปใช้และขยายผลดีเด่น

ชนะเลิศ

ชาติ

การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย

  รางวัลและผลงานของผู้เรียน ปีการศึกษา 2560

ชื่อ-สกุล/รายการ

รางวัล

ระดับ

ให้โดย

  รางวัลและผลงานของผู้เรียน ปีการศึกษา 2561

 

ชื่อ-สกุล/รายการ

รางวัล

ระดับ

ให้โดย

นางสาวชญานี จิตรไธสง
การสัมมนาผลงานการวิจัย สาขาสัตวศาสคร์และประมง เรื่องผลการใช้ผักแขยงผง(Limnophila aromalic Merr.)ในอาหารต่อสมรรถนะการผลิตสุกรอนุบาล

ชนะเลิศ

ชาติ

อกท.ระดับชาติ ครั้งที่40 ณ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีพะเยา

นายโกมินทร์ บุตรศรีวงศ์
การสัมมนาผลงานการวิจัย สาขาสัตวศาสคร์และประมง เรื่องผลการใช้ผักแขยงผง(Limnophila aromalic Merr.)ในอาหารต่อสมรรถนะการผลิตสุกรอนุบาล

ชนะเลิศ

ชาติ

อกท.ระดับชาติ ครั้งที่40 ณ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีพะเยา

นางสาวจิตรลดา รักษาพล
การสัมมนาผลงานการวิจัย สาขาทั่วไป เรื่อง การพัฒนาผลิตภัณฑ์น้ำปรุงรสผัดกระเพราเห็ดนางฟ้า

รองชนะเลิศ

ชาติ

อกท.ระดับชาติ ครั้งที่40 ณ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีพะเยา

นางสาวฐิจารีย์ ชัยสิทธิ์
การสัมมนาผลงานการวิจัย สาขาทั่วไป เรื่อง การพัฒนาผลิตภัณฑ์น้ำปรุงรสผัดกระเพราเห็ดนางฟ้า

รองชนะเลิศ

ชาติ

อกท.ระดับชาติ ครั้งที่40 ณ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีพะเยา

นางสาวนวรัตน์ ดั้นชัยภูมิ
การสัมมนาผลงานการวิจัย สาขาทั่วไป เรื่อง การพัฒนาผลิตภัณฑ์น้ำปรุงรสผัดกระเพราเห็ดนางฟ้า

รองชนะเลิศ

ชาติ

อกท.ระดับชาติ ครั้งที่40 ณ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีพะเยา

นายอดิศร ตาโม
การสัมมนาผลงานการวิจัย สาขาทั่วไป เรื่อง การพัฒนาผลิตภัณฑ์น้ำปรุงรสผัดกระเพราเห็ดนางฟ้า

รองชนะเลิศ

ชาติ

อกท.ระดับชาติ ครั้งที่40 ณ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีพะเยา

นายณรงค์ชัย ยาผิว
การประกวดสิ่งประดิษฐ์ทางการเกษตร ประเภทที่1 ด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิต ชื่อผลงาน “เครื่องสางใบอ้อยพร้อมฉีดพ่นปุ๋ย 2in1 “

ชนะเลิศ

ชาติ

อกท.ระดับชาติ ครั้งที่40 ณ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีพะเยา

นายวรวิทย์ ทันชื่น
การประกวดสิ่งประดิษฐ์ทางการเกษตร ประเภทที่2 ด้านการประกอบอาชีพ ชื่อผลงาน “เครื่องกรอกดินปลูก”

รองชนะเลิศ

ชาติ

อกท.ระดับชาติ ครั้งที่40 ณ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีพะเยา

นายศิริวัฒน์ ผลอินทร์
การประกวดสิ่งประดิษฐ์ทางการเกษตร ประเภทที่2 ด้านการประกอบอาชีพ ชื่อผลงาน “เครื่องกรอกดินปลูก”

รองชนะเลิศ

ชาติ

อกท.ระดับชาติ ครั้งที่40 ณ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีพะเยา

นายชวน แก้วทะชาติ
การประกวดสิ่งประดิษฐ์ทางการเกษตร ประเภทที่4 ด้านพลังงานสิ่งแวดล้อม ชื่อผลงาน “เครื่องดักแมลงให้อาหารปลาและเพิ่มออกซิเจนโดยใช้พลังงานแสงอาทิตย์”

รองชนะเลิศ

ชาติ

อกท.ระดับชาติ ครั้งที่40 ณ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีพะเยา

นายนันทวัฒน์ วงชารี
การประกวดสิ่งประดิษฐ์ทางการเกษตร ประเภทที่4 ด้านพลังงานสิ่งแวดล้อม ชื่อผลงาน “เครื่องดักแมลงให้อาหารปลาและเพิ่มออกซิเจนโดยใช้พลังงานแสงอาทิตย์”

รองชนะเลิศ

ชาติ

อกท.ระดับชาติ ครั้งที่40 ณ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีพะเยา

นางสาวเญจวรรณ กันยาวงศ์
การแข่งขันทักษะวิชาชีพ สาขาสัตวศาสตร์ ทักษะสุกร

รองชนะเลิศ

ชาติ

อกท.ระดับชาติ ครั้งที่40 ณ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีพะเยา

นายจิรภัทร สุทธะมาตร
การแข่งขันทักษะวิชาชีพ สาขาสัตวศาสตร์ ทักษะสุกร

รองชนะเลิศ

ชาติ

อกท.ระดับชาติ ครั้งที่40 ณ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีพะเยา

นายอาทิตย์ กองเงิน
การแข่งขันทักษะอาชีพ สาขาช่างกลเกษตร ทักษะการใช้แทรกเตอร์ล้อยาง

ชนะเลิศ

ชาติ

อกท.ระดับชาติ ครั้งที่40 ณ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีพะเยา

นายองอาจ สารคาม
การแข่งขันทักษะอาชีพ สาขาศิลปเกษตร ทักษะการจัดสวนหย่อม

ชนะเลิศ

ชาติ

อกท.ระดับชาติ ครั้งที่40 ณ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีพะเยา

นายทรงศักดิ์ มูลตรี
การแข่งขันทักษะอาชีพ สาขาศิลปเกษตร ทักษะการจัดสวนหย่อม

ชนะเลิศ

ชาติ

อกท.ระดับชาติ ครั้งที่40 ณ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีพะเยา

นายพงษ์สิทธิ์ วงศา
การแข่งขันทักษะอาชีพ สาขาศิลปเกษตร ทักษะการจัดสวนหย่อม

ชนะเลิศ

ชาติ

อกท.ระดับชาติ ครั้งที่40 ณ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีพะเยา

นางสาวพัชนิดา เขมะคุณ
การแข่งขันทักษะอาชีพ สาขาประมง ทักษะการเพาะและขยายพันธุ์ปลา

รองชนะเลิศ

ชาติ

อกท.ระดับชาติ ครั้งที่40 ณ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีพะเยา

นายกรรชัย สุขพันธ์
การแข่งขันทักษะอาชีพ สาขาประมง ทักษะการเพาะและขยายพันธุ์ปลา

รองชนะเลิศ

ชาติ

อกท.ระดับชาติ ครั้งที่40 ณ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีพะเยา

นางสาววราภรณ์ ทะวิลา
กิจกรรมอื่นๆ “การแข่งขันการประกวดส้มตำลีลา”

รองชนะเลิศ

ชาติ

อกท.ระดับชาติ ครั้งที่40 ณ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีพะเยา

นายนันทวัฒน์ อุ่นสวาท
กิจกรรมอื่นๆ “การแข่งขันการประกวดส้มตำลีลา”

รองชนะเลิศ

ชาติ

อกท.ระดับชาติ ครั้งที่40 ณ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีพะเยา

นายธนกร ราชาสุข
การประกวดโฟล์คซอง

รางวัลอื่น ๆ

ชาติ

อกท.ระดับชาติ ครั้งที่40 ณ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีพะเยา

นายสุวิทย์ เจี่ยงยี้หว้า
การประกวดโฟล์คซอง

รางวัลอื่น ๆ

ชาติ

อกท.ระดับชาติ ครั้งที่40 ณ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีพะเยา

นายวรายุทธ ปิดตาระพา
การประกวดโฟล์คซอง

รางวัลอื่น ๆ

ชาติ

อกท.ระดับชาติ ครั้งที่40 ณ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีพะเยา

นายอธิคม ไชยลือชา
การประกวดโฟล์คซอง

รางวัลอื่น ๆ

ชาติ

อกท.ระดับชาติ ครั้งที่40 ณ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีพะเยา

นายณัฐรัช คุณชัยภูมิ
การประกวดโฟล์คซอง

รางวัลอื่น ๆ

ชาติ

อกท.ระดับชาติ ครั้งที่40 ณ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีพะเยา

นายจักกฤษ บุษผามาลา
การประกวดโฟล์คซอง

รางวัลอื่น ๆ

ชาติ

อกท.ระดับชาติ ครั้งที่40 ณ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีพะเยา

นางสาวศิริภา ไชยคำภา
การแข่งขันทักษะวิชาชีพ สาขาบริหารธุรกิจ ทักษะการสร้างสื่อสิ่งพิมพ์

รางวัลอื่น ๆ

ชาติ

อกท.ระดับชาติ ครั้งที่40 ณ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีพะเยา

นางสาวชนกชนม์ กันอุไร
การแข่งขันทักษะวิชาชีพ สาขาพื้นฐาน ทักษะการสาธิตทางวิชาชีพ

ชนะเลิศ

ชาติ

อกท.ระดับชาติ ครั้งที่40 ณ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีพะเยา

นางสาวศศิวรรณ บุญหล้า
การแข่งขันทักษะวิชาชีพ สาขาพื้นฐาน ทักษะการสาธิตทางวิชาชีพ

ชนะเลิศ

ชาติ

อกท.ระดับชาติ ครั้งที่40 ณ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีพะเยา

นายธนภูมิ ศรีพงศ์พยอม
การแข่งขันทักษะวิชาชีพ สาขาศิลปเกษตร ทักษะการจัดดอกไม้

รองชนะเลิศ

ชาติ

อกท.ระดับชาติ ครั้งที่40 ณ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีพะเยา

นายประสิทธิ์ สีแวงนอก
การแข่งขันทักษะวิชาชีพ สาขาศิลปเกษตร ทักษะการจัดดอกไม้

รองชนะเลิศ

ชาติ

อกท.ระดับชาติ ครั้งที่40 ณ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีพะเยา

นายจักราวุธ ยุสนอง
ประเภทที่ 3 นักศึกษาปัจจุบันนำไปใช้และขยายผลดีเด่น อันดับ 3 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

รางวัลอื่น ๆ

ภาค

การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย

ส่วนที่ 3
มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา


  มาตรฐานการศึกษาของวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีมหาสารคาม ประกอบด้วย 3 มาตรฐาน 9 ประเด็น ดังนี้

มาตรฐานที่ 1 คุณลักษณะของผู้สำเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาที่พึงประสงค์

   การจัดการอาชีวศึกษา เป็นการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาผู้สำเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาให้มีความรู้ มีทักษะและการประยุกต์ใช้เป็นไปตามมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแต่ละระดับการศึกษา และมีคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ประกอบด้วยประเด็นการประเมิน ดังนี้

1.1 ด้านความรู้

ผู้สำเร็จการศึกษาอาชีวศึกษามีความรู้เกี่ยวกับข้อเท็จจริง ตามหลักการ ทฤษฏี และแนวปฏิบัติต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่เรียน หรือทำงาน โดยเน้นความรู้เชิงทฤษฏี และหรือข้อเท็จจริง เป็นไปตามมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแต่ละระดับการศึกษา

1.2 ด้านทักษะและการประยุกต์ใช้

ผู้สำเร็จการศึกษาอาชีวศึกษามีทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 ทักษะวิชาชีพ และทักษะชีวิตเป็นไปตามมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแต่ละระดับการศึกษา สามารถประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน และการดำรงชีวิตอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมีสุขภาวะที่ดี

1.3 ด้านคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะที่พึงประสงค์

ผู้สำเร็จการศึกษาอาชีวศึกษามีคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ เจตคติและกิจนิสัยที่ดี ภูมิใจและรักษาเอกลักษณ์ของชาติไทย เคารพกฎหมาย เคารพสิทธิของผู้อื่น มีความรับผิดชอบตามบทบาทหน้าที่ของตนเองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีจิตสาธารณะ และมีจิตสำนึกรักษ์สิ่งแวดล้อม

มาตรฐานที่ 2 การจัดการอาชีวศึกษา

   สถานศึกษามีครูที่มีคุณวุฒิการศึกษาและจำนวนตามเกณฑ์ที่กำหนด ใช้หลักสูตรฐานสมรรถนะในการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ และบริหารจัดการทรัพยากรของสถานศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพ มีความสำเร็จในการดำเนินการตามนโยบายสำคัญของหน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่กำกับดูแลสถานศึกษา ประกอบด้วยประเด็นการประเมิน ดังนี้

2.1 ด้านหลักสูตรอาชีวศึกษา

สถานศึกษาใช้หลักสูตรฐานสมรรถนะที่สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน ชุมชน สถานประกอบการ ตลาดแรงงาน มีการปรับปรุงรายวิชาเดิม หรือกำหนดรายวิชาใหม่ หรือกลุ่มวิชาเพิ่มเติมให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและความต้องการของตลาดแรงงาน โดยความร่วมมือกับสถานประกอบการหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

2.2 ด้านการจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา

สถานศึกษามีครูที่มีคุณวุฒิการศึกษาและมีจำนวนตามเกณฑ์ที่กำหนด ได้รับการพัฒนาอย่างเป็นระบบต่อเนื่อง เพื่อเป็นผู้พร้อมทั้งด้านคุณธรรม จริยธรรมและความเข้มแข็งทางวิชาการและวิชาชีพ จัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ตอบสนองความต้องการของผู้เรียนทั้งวัยเรียนและวัยทำงาน ตามหลักสูตร มาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแต่ละระดับการศึกษา ตามระเบียบหรือข้อบังคับเกี่ยวกับการจัดการศึกษาและการประเมินผลการเรียนของแต่ละหลักสูตร ส่งเสริม สนับสนุน กำกับ ดูแลให้ครูจัดการเรียนการสอนรายวิชาให้ถูกต้อง ครบถ้วน สมบูรณ์

2.3 ด้านการบริหารจัดการ

สถานศึกษาบริหารจัดการบุคลากร สภาพแวดล้อม ภูมิทัศน์ อาคารสถานที่ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ โรงฝึกงาน ศูนย์วิทยบริการ สื่อ แหล่งเรียนรู้ เทคโนโลยีสารสนเทศ ครุภัณฑ์ และงบประมาณของสถานศึกษาที่มีอยู่อย่างเต็มศักยภาพและมีประสิทธิภาพ

2.4 ด้านการนำนโยบายสู่การปฏิบัติ

สถานศึกษามีความสำเร็จในการดำเนินการบริหารจัดการสถานศึกษา ตามนโยบายสำคัญที่หน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่กำกับดูแลสถานศึกษามอบหมาย โดยความร่วมมือของผู้บริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษาและผู้เรียน รวมทั้งการช่วยเหลือ ส่งเสริม สนับสนุนจากผู้ปกครอง ชุมชน สถานประกอบการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและภาคเอกชน

มาตรฐานที่ 3 การสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้

   สถานศึกษาร่วมมือกับบุคคล ชุมชน องค์กรต่าง ๆ เพื่อสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ มีการจัดทำนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ งานวิจัย ประกอบด้วยประเด็นการประเมิน ดังนี้

3.1 ด้านความร่วมมือในการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้

สถานศึกษามีการสร้างความร่วมมือกับบุคคล ชุมชน องค์กรต่าง ๆ ทั้งในประเทศและต่างประเทศในการจัดการศึกษา การจัดทรัพยากรทางการศึกษา กระบวนการเรียนรู้ การบริการทางวิชาการและวิชาชีพ โดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม เพื่อพัฒนาผู้เรียนและคนในชุมชนสู่สังคมแห่งการเรียนรู้

3.2 ด้านนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ งานวิจัย

สถานศึกษาส่งเสริมสนับสนุนให้มีการจัดทำนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ งานวิจัย โดยผู้บริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษา ผู้เรียน หรือร่วมกับบุคคล ชุมชน องค์กรต่าง ๆ ที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ตามวัตถุประสงค์ และเผยแพร่สู่สาธารณชน

ส่วนที่ 4
ผลการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา


4.1 มาตรฐานที่ 1 คุณลักษณะของผู้สำเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาที่พึงประสงค์

4.1.1 ผลสัมฤทธิ์

1) ด้านความรู้

1) ด้านความรู้

ผลสัมฤทธิ์ในการพัฒนาคุณลักษณะของผู้สำเร็จการศึกษา อาชีวศึกษาที่พึงประสงค์ด้านความรู้ตามรายการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาอาชีวศึกษา ปรากฏผลดังนี้ 

       1.1) การดูแลและแนะแนวผู้เรียน

           1.1.1) เชิงปริมาณ

               – จำนวนผู้เรียนระดับ ปวช. ชั้นปีที่ 3 แรกเข้า 185  คน สำเร็จการศึกษา 136 คน

               – จำนวนผู้เรียนระดับ ปวส. ชั้นปีที่ 2 แรกเข้า 162  คน สำเร็จการศึกษา 154 คน

           1.1.2) เชิงคุณภาพ

               – ผู้สำเร็จการศึกษา ปวช. คิดเป็นร้อยละ 73.51

               – ผู้สำเร็จการศึกษา ปวส. คิดเป็นร้อยละ 95.06 

               – คิดเป็นผู้สำเร็จการศึกษารวม ทั้ง ปวช. และ ปวส. คิดเป็นร้อยละ 83.57 มีคุณภาพอยู่ในระดับยอดเยี่ยม

           1.1.3) ผลสะท้อน

                 สถานศึกษาได้จัดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน นักศึกษามีการดำเนินกิจกรรมเช่น กิจกรรมHome Room กิจกรรมจิตสงบ…พบธรรมะ กิจกรรมออกเยี่ยมบ้าน กิจกรรมภายในหอพัก เป็นต้น

 

       1.2) ผู้เรียนมีสมรรถนะในการเป็นผู้ประกอบการหรือการประกอบอาชีพอิสระ

            1.2.1) เชิงปริมาณ 

                – จำนวนผู้เรียนกลุ่มเป้าหมายที่ผ่านการพัฒนาเป็นผู้ประกอบการหรือการประกอบอาชีพอิสระ จำนวน  10 คน

                – จำนวนผู้เรียนประสบความสำเร็จสู่การเป็นผู้ประกอบการหรือ การประกอบอาชีพอิสระ จำนวน  7 คน

           1.2.2) เชิงคุณภาพ

                  ผู้เรียนที่ประสบความสำเร็จสู่การเป็นผู้ประกอบการหรือการประกอบอาชีพอิสระ คิดเป็นร้อยละ 70.00 เทียบกับจำนวนผู้เรียนกลุ่มเป้าหมายที่ผ่านการพัฒนาการเป็นผู้ประกอบการหรือการประกอบอาชีพอิสระ มีคุณภาพอยู่ในระดับ ดีเลิศ 

           1.2.3) ผลสะท้อน

                  สถานศึกษาได้รับรางวัล การประเมินศูนย์บ่มเพาะ ในระดับ 4 ดาว ปีการศึกษา 2560 และในระดับ 3 ดาว ปีการศึกษา 2561 (กำลังเตรียมประเมินในระดับ 4 ดาว) นักเรียน นักศึกษาได้ฝึกทักษะประสบการณ์จริง

 

      1.3) ผลงานของผู้เรียนด้านนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรืองานวิจัย

            1.3.1) เชิงปริมาณ

                  จำนวนผลงาน นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรือ งานวิจัย ในปีการศึกษา 2561 มีจำนวนทั้งสิ้น 44  ผลงาน

           1.3.2) เชิงคุณภาพ

                  สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมประกวดนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ และงานวิจัยในสถานศึกษา  ในระหว่างวันที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2562  และทางสถานศึกษาได้คัดเลือกโครงงานวิทยาศาสตร เรื่อง ไอศกรีมข้าวโพดผสมเห็ดนางฟ้า และสิ่งประดิษฐ์คนรุ่นใหม่ เรื่อง ผลิตภัณฑ์น้ำปรุงรสใบกระเพราเห็นนางฟ้า จากชุมชนนำไปประกอบอาชีพ นอกจากนี้ยังมีโครงการผลิตหญ้าหวานเพื่อจำหน่าย ได้รับการยอมรับจากเกษตรกร ชุมชน และวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีจังหวัดอื่น สั่งซื้อท่อนพันธุ์เพื่อนำไปปลูกขยายพันธุ์และจำหน่าย (ผลงานนำไปใช้ได้จริงระดับประเทศ)

           1.3.3) ผลสะท้อน

นักเรียน นักศึกษาได้รับการพัฒนาความรู้ ทักษะ และเกิดรายได้จากการดำเนินโครงการวิชาชีพและได้รับการยอมรับจากชุมชนและหน่วยงานอื่น

 

        1.4) ผลการแข่งขันทักษะวิชาชีพ

             1.4.1) เชิงปริมาณ

                   จำนวนผู้เรียนที่ได้รับรางวัลจากการแข่งขันทักษะวิชาชีพ ระดับภาค 89 คน และระดับชาติ 85 คน

            1.4.2) เชิงคุณภาพ

                   ผลการแข่งขันทักษะวิชาชีพในแต่ละระดับ  ระดับภาค 89 คน ระดับชาติ 85 คน

            1.4.3) ผลสะท้อน

                   สถานศึกษาได้เข้าร่วมในการประชุมวิชาการ องค์เกษตรกรในอนาคตแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

ระดับชาติ ครั้งที่ 40 ณ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลโยพะเยา ได้คะแนนรวมลำดับที่ 5

 

       1.5) ผลการประเมินมาตรฐานวิชาชีพ

            1.5.1) เชิงปริมาณ

                  จำนวนผู้เรียนที่ผ่านการประเมินมาตรฐานวิชาชีพรอบแรก

                      – ปวช.3 จำนวน 168 คน

                      – ปวส.2 จำนวน 298 คน

            1.5.2) เชิงคุณภาพ

                   ร้อยละของผู้เรียนที่ผ่านการประเมินมาตรฐานวิชาชีพรอบแรก

                       – ปวช.3 ร้อยละ 98.82

                       – ปวส.2 ร้อยละ 95.59

            1.5.3) ผลสะท้อน

                   ผู้เรียนที่ผ่านการประเมินมาตรฐานวิชาชีพ คิดเป็นร้อยละ 97.38

 

        1.6) ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านอาชีวศึกษา (V-NET)

             1.6.1) เชิงปริมาณ

                   จำนวนผู้เรียนที่มีผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านอาชีวศึกษา (V-NET)

                   – ปวช.3 จำนวน 34 คน

                   – ปวส.2 จำนวน 52 คน

            1.6.2) เชิงคุณภาพ

                   ร้อยละของผู้เรียนที่มีผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านอาชีวศึกษา (V-NET)

                   – ปวช.3 ร้อยละ 21.93

                   – ปวส.2 ร้อยละ 34.43

            1.6.3) ผลสะท้อน

                   ผู้เรียนที่ผ่านการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านอาชีวศึกษา (V-NET) คิดเป็นร้อยละ 28.10

 

        1.7) การมีงานทำและศึกษาต่อของผู้สำเร็จการศึกษา

            1.7.1) เชิงปริมาณ

                  จำนวนผู้สำเร็จการศึกษา ปวช.3 จำนวน  140  คน และ ปวส.2 จำนวน  127 คน ในปีการศึกษาที่ผ่านมามีงานทำในสถานประกอบการ หน่วยงานภาครัฐและเอกชน ประกอบอาชีพอิสระหรือศึกษาต่อ ปวช.3 จำนวน 110 คน  และ ปวส.2 จำนวน 117  คน        

           1.7.2) เชิงคุณภาพ

                  ร้อยละของผู้สำเร็จการศึกษา ปวช.3 ร้อยละ 78.57  และ ปวส.2 ร้อยละ 92.12 ในปีการศึกษาที่ ผ่านมา มีงานทำในสถานประกอบการ หน่วยงานภาครัฐและเอกชน ประกอบอาชีพอิสระหรือศึกษาต่อ

           1.7.3) ผลสะท้อน

                  ผู้มีงานทำและศึกษาต่อ คิดเป็นร้อยละ 85.01

2) ด้านทักษะและการประยุกต์ใช้

1) ด้านความรู้

ผลสัมฤทธิ์ในการพัฒนาคุณลักษณะของผู้สำเร็จการศึกษา อาชีวศึกษาที่พึงประสงค์ด้านความรู้ตามรายการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาอาชีวศึกษา ปรากฏผลดังนี้ 

       1.1) การดูแลและแนะแนวผู้เรียน

           1.1.1) เชิงปริมาณ

               – จำนวนผู้เรียนระดับ ปวช. ชั้นปีที่ 3 แรกเข้า 185  คน สำเร็จการศึกษา 136 คน

               – จำนวนผู้เรียนระดับ ปวส. ชั้นปีที่ 2 แรกเข้า 162  คน สำเร็จการศึกษา 154 คน

           1.1.2) เชิงคุณภาพ

               – ผู้สำเร็จการศึกษา ปวช. คิดเป็นร้อยละ 73.51

               – ผู้สำเร็จการศึกษา ปวส. คิดเป็นร้อยละ 95.06 

               – คิดเป็นผู้สำเร็จการศึกษารวม ทั้ง ปวช. และ ปวส. คิดเป็นร้อยละ 83.57 มีคุณภาพอยู่ในระดับยอดเยี่ยม

           1.1.3) ผลสะท้อน

                 สถานศึกษาได้จัดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน นักศึกษามีการดำเนินกิจกรรมเช่น กิจกรรมHome Room กิจกรรมจิตสงบ…พบธรรมะ กิจกรรมออกเยี่ยมบ้าน กิจกรรมภายในหอพัก เป็นต้น

 

       1.2) ผู้เรียนมีสมรรถนะในการเป็นผู้ประกอบการหรือการประกอบอาชีพอิสระ

            1.2.1) เชิงปริมาณ 

                – จำนวนผู้เรียนกลุ่มเป้าหมายที่ผ่านการพัฒนาเป็นผู้ประกอบการหรือการประกอบอาชีพอิสระ จำนวน  10 คน

                – จำนวนผู้เรียนประสบความสำเร็จสู่การเป็นผู้ประกอบการหรือ การประกอบอาชีพอิสระ จำนวน  7 คน

           1.2.2) เชิงคุณภาพ

                  ผู้เรียนที่ประสบความสำเร็จสู่การเป็นผู้ประกอบการหรือการประกอบอาชีพอิสระ คิดเป็นร้อยละ 70.00 เทียบกับจำนวนผู้เรียนกลุ่มเป้าหมายที่ผ่านการพัฒนาการเป็นผู้ประกอบการหรือการประกอบอาชีพอิสระ มีคุณภาพอยู่ในระดับ ดีเลิศ 

           1.2.3) ผลสะท้อน

                  สถานศึกษาได้รับรางวัล การประเมินศูนย์บ่มเพาะ ในระดับ 4 ดาว ปีการศึกษา 2560 และในระดับ 3 ดาว ปีการศึกษา 2561 (กำลังเตรียมประเมินในระดับ 4 ดาว) นักเรียน นักศึกษาได้ฝึกทักษะประสบการณ์จริง

 

      1.3) ผลงานของผู้เรียนด้านนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรืองานวิจัย

            1.3.1) เชิงปริมาณ

                  จำนวนผลงาน นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรือ งานวิจัย ในปีการศึกษา 2561 มีจำนวนทั้งสิ้น 44  ผลงาน

           1.3.2) เชิงคุณภาพ

                  สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมประกวดนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ และงานวิจัยในสถานศึกษา  ในระหว่างวันที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2562  และทางสถานศึกษาได้คัดเลือกโครงงานวิทยาศาสตร เรื่อง ไอศกรีมข้าวโพดผสมเห็ดนางฟ้า และสิ่งประดิษฐ์คนรุ่นใหม่ เรื่อง ผลิตภัณฑ์น้ำปรุงรสใบกระเพราเห็นนางฟ้า จากชุมชนนำไปประกอบอาชีพ นอกจากนี้ยังมีโครงการผลิตหญ้าหวานเพื่อจำหน่าย ได้รับการยอมรับจากเกษตรกร ชุมชน และวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีจังหวัดอื่น สั่งซื้อท่อนพันธุ์เพื่อนำไปปลูกขยายพันธุ์และจำหน่าย (ผลงานนำไปใช้ได้จริงระดับประเทศ)

           1.3.3) ผลสะท้อน

นักเรียน นักศึกษาได้รับการพัฒนาความรู้ ทักษะ และเกิดรายได้จากการดำเนินโครงการวิชาชีพและได้รับการยอมรับจากชุมชนและหน่วยงานอื่น

 

        1.4) ผลการแข่งขันทักษะวิชาชีพ

             1.4.1) เชิงปริมาณ

                   จำนวนผู้เรียนที่ได้รับรางวัลจากการแข่งขันทักษะวิชาชีพ ระดับภาค 89 คน และระดับชาติ 85 คน

            1.4.2) เชิงคุณภาพ

                   ผลการแข่งขันทักษะวิชาชีพในแต่ละระดับ  ระดับภาค 89 คน ระดับชาติ 85 คน

            1.4.3) ผลสะท้อน

                   สถานศึกษาได้เข้าร่วมในการประชุมวิชาการ องค์เกษตรกรในอนาคตแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

ระดับชาติ ครั้งที่ 40 ณ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลโยพะเยา ได้คะแนนรวมลำดับที่ 5

 

       1.5) ผลการประเมินมาตรฐานวิชาชีพ

            1.5.1) เชิงปริมาณ

                  จำนวนผู้เรียนที่ผ่านการประเมินมาตรฐานวิชาชีพรอบแรก

                      – ปวช.3 จำนวน 168 คน

                      – ปวส.2 จำนวน 298 คน

            1.5.2) เชิงคุณภาพ

                   ร้อยละของผู้เรียนที่ผ่านการประเมินมาตรฐานวิชาชีพรอบแรก

                       – ปวช.3 ร้อยละ 98.82

                       – ปวส.2 ร้อยละ 95.59

            1.5.3) ผลสะท้อน

                   ผู้เรียนที่ผ่านการประเมินมาตรฐานวิชาชีพ คิดเป็นร้อยละ 97.38

 

        1.6) ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านอาชีวศึกษา (V-NET)

             1.6.1) เชิงปริมาณ

                   จำนวนผู้เรียนที่มีผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านอาชีวศึกษา (V-NET)

                   – ปวช.3 จำนวน 34 คน

                   – ปวส.2 จำนวน 52 คน

            1.6.2) เชิงคุณภาพ

                   ร้อยละของผู้เรียนที่มีผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านอาชีวศึกษา (V-NET)

                   – ปวช.3 ร้อยละ 21.93

                   – ปวส.2 ร้อยละ 34.43

            1.6.3) ผลสะท้อน

                   ผู้เรียนที่ผ่านการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านอาชีวศึกษา (V-NET) คิดเป็นร้อยละ 28.10

 

        1.7) การมีงานทำและศึกษาต่อของผู้สำเร็จการศึกษา

            1.7.1) เชิงปริมาณ

                  จำนวนผู้สำเร็จการศึกษา ปวช.3 จำนวน  140  คน และ ปวส.2 จำนวน  127 คน ในปีการศึกษาที่ผ่านมามีงานทำในสถานประกอบการ หน่วยงานภาครัฐและเอกชน ประกอบอาชีพอิสระหรือศึกษาต่อ ปวช.3 จำนวน 110 คน  และ ปวส.2 จำนวน 117  คน        

           1.7.2) เชิงคุณภาพ

                  ร้อยละของผู้สำเร็จการศึกษา ปวช.3 ร้อยละ 78.57  และ ปวส.2 ร้อยละ 92.12 ในปีการศึกษาที่ ผ่านมา มีงานทำในสถานประกอบการ หน่วยงานภาครัฐและเอกชน ประกอบอาชีพอิสระหรือศึกษาต่อ

           1.7.3) ผลสะท้อน

                  ผู้มีงานทำและศึกษาต่อ คิดเป็นร้อยละ 85.01

3) ด้านคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะที่พึงประสงค์

1) ด้านความรู้

ผลสัมฤทธิ์ในการพัฒนาคุณลักษณะของผู้สำเร็จการศึกษา อาชีวศึกษาที่พึงประสงค์ด้านความรู้ตามรายการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาอาชีวศึกษา ปรากฏผลดังนี้ 

       1.1) การดูแลและแนะแนวผู้เรียน

           1.1.1) เชิงปริมาณ

               – จำนวนผู้เรียนระดับ ปวช. ชั้นปีที่ 3 แรกเข้า 185  คน สำเร็จการศึกษา 136 คน

               – จำนวนผู้เรียนระดับ ปวส. ชั้นปีที่ 2 แรกเข้า 162  คน สำเร็จการศึกษา 154 คน

           1.1.2) เชิงคุณภาพ

               – ผู้สำเร็จการศึกษา ปวช. คิดเป็นร้อยละ 73.51

               – ผู้สำเร็จการศึกษา ปวส. คิดเป็นร้อยละ 95.06 

               – คิดเป็นผู้สำเร็จการศึกษารวม ทั้ง ปวช. และ ปวส. คิดเป็นร้อยละ 83.57 มีคุณภาพอยู่ในระดับยอดเยี่ยม

           1.1.3) ผลสะท้อน

                 สถานศึกษาได้จัดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน นักศึกษามีการดำเนินกิจกรรมเช่น กิจกรรมHome Room กิจกรรมจิตสงบ…พบธรรมะ กิจกรรมออกเยี่ยมบ้าน กิจกรรมภายในหอพัก เป็นต้น

1.2) ผู้เรียนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์

1.2.1) เชิงปริมาณ : ผู้เรียนทั้งหมดของสถานศึกษา  จำนวน 1,665  คน

1.2.2) เชิงคุณภาพ : ผู้เรียนที่มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ ประกอบด้วยความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์และเสียสละเพื่อส่วนรวม มีความเป็นประชาธิปไตย ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างเป็นกัลยาณมิตร มีภาวะผู้นำกล้าแสดงออก ภูมิใจในความเป็นไทย เห็นคุณค่าและพัฒนาภูมิปัญญาไทย มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม  จำนวน 1,505 คน คิดเป็นร้อยละ 90.39

1.2.3) ผลสะท้อน : สถานศึกษาได้รับรางวัล อกท.หน่วยดีเด่น ระดับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ระดับเหรียญทอง

 

       1.3) ผู้เรียนมีสมรรถนะในการเป็นผู้ประกอบการหรือการประกอบอาชีพอิสระ

            1.3.1) เชิงปริมาณ 

                – จำนวนผู้เรียนกลุ่มเป้าหมายที่ผ่านการพัฒนาเป็นผู้ประกอบการหรือการประกอบอาชีพอิสระ จำนวน  10 คน

                – จำนวนผู้เรียนประสบความสำเร็จสู่การเป็นผู้ประกอบการหรือ การประกอบอาชีพอิสระ จำนวน  7 คน

           1.3.2) เชิงคุณภาพ

                  ผู้เรียนที่ประสบความสำเร็จสู่การเป็นผู้ประกอบการหรือการประกอบอาชีพอิสระ คิดเป็นร้อยละ 70.00 เทียบกับจำนวนผู้เรียนกลุ่มเป้าหมายที่ผ่านการพัฒนาการเป็นผู้ประกอบการหรือการประกอบอาชีพอิสระ มีคุณภาพอยู่ในระดับ ดีเลิศ 

           1.3.3) ผลสะท้อน

                  สถานศึกษาได้รับรางวัล การประเมินศูนย์บ่มเพาะ ในระดับ 4 ดาว ปีการศึกษา 2560 และในระดับ 3 ดาว ปีการศึกษา 2561 (กำลังเตรียมประเมินในระดับ 4 ดาว) นักเรียน นักศึกษาได้ฝึกทักษะประสบการณ์จริง

 

      1.4) ผลงานของผู้เรียนด้านนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรืองานวิจัย

            1.4.1) เชิงปริมาณ

                  จำนวนผลงาน นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรือ งานวิจัย ในปีการศึกษา 2561 มีจำนวนทั้งสิ้น 44  ผลงาน

           1.4.2) เชิงคุณภาพ

                  สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมประกวดนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ และงานวิจัยในสถานศึกษา  ในระหว่างวันที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2562  และทางสถานศึกษาได้คัดเลือกโครงงานวิทยาศาสตร เรื่อง ไอศกรีมข้าวโพดผสมเห็ดนางฟ้า และสิ่งประดิษฐ์คนรุ่นใหม่ เรื่อง ผลิตภัณฑ์น้ำปรุงรสใบกระเพราเห็นนางฟ้า จากชุมชนนำไปประกอบอาชีพ นอกจากนี้ยังมีโครงการผลิตหญ้าหวานเพื่อจำหน่าย ได้รับการยอมรับจากเกษตรกร ชุมชน และวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีจังหวัดอื่น สั่งซื้อท่อนพันธุ์เพื่อนำไปปลูกขยายพันธุ์และจำหน่าย (ผลงานนำไปใช้ได้จริงระดับประเทศ)

           1.4.3) ผลสะท้อน

นักเรียน นักศึกษาได้รับการพัฒนาความรู้ ทักษะ และเกิดรายได้จากการดำเนินโครงการวิชาชีพและได้รับการยอมรับจากชุมชนและหน่วยงานอื่น

 

        1.5) ผลการแข่งขันทักษะวิชาชีพ

             1.5.1) เชิงปริมาณ

                   จำนวนผู้เรียนที่ได้รับรางวัลจากการแข่งขันทักษะวิชาชีพ ระดับภาค 89 คน และระดับชาติ 85 คน

            1.5.2) เชิงคุณภาพ

                   ผลการแข่งขันทักษะวิชาชีพในแต่ละระดับ  ระดับภาค 89 คน ระดับชาติ 85 คน

            1.5.3) ผลสะท้อน

                   สถานศึกษาได้เข้าร่วมในการประชุมวิชาการ องค์เกษตรกรในอนาคตแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

ระดับชาติ ครั้งที่ 40 ณ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลโยพะเยา ได้คะแนนรวมลำดับที่ 5

 

       1.6) ผลการประเมินมาตรฐานวิชาชีพ

            1.6.1) เชิงปริมาณ

                  จำนวนผู้เรียนที่ผ่านการประเมินมาตรฐานวิชาชีพรอบแรก

                      – ปวช.3 จำนวน 168 คน

                      – ปวส.2 จำนวน 298 คน

            1.6.2) เชิงคุณภาพ

                   ร้อยละของผู้เรียนที่ผ่านการประเมินมาตรฐานวิชาชีพรอบแรก

                       – ปวช.3 ร้อยละ 98.82

                       – ปวส.2 ร้อยละ 95.59

            1.6.3) ผลสะท้อน

                   ผู้เรียนที่ผ่านการประเมินมาตรฐานวิชาชีพ คิดเป็นร้อยละ 97.38

 

        1.7) ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านอาชีวศึกษา (V-NET)

             1.6.1) เชิงปริมาณ

                   จำนวนผู้เรียนที่มีผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านอาชีวศึกษา (V-NET)

                   – ปวช.3 จำนวน 34 คน

                   – ปวส.2 จำนวน 52 คน

            1.7.2) เชิงคุณภาพ

                   ร้อยละของผู้เรียนที่มีผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านอาชีวศึกษา (V-NET)

                   – ปวช.3 ร้อยละ 21.93

                   – ปวส.2 ร้อยละ 34.43

            1.7.3) ผลสะท้อน

                   ผู้เรียนที่ผ่านการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านอาชีวศึกษา (V-NET) คิดเป็นร้อยละ 28.10

 

        1.8) การมีงานทำและศึกษาต่อของผู้สำเร็จการศึกษา

            1.8.1) เชิงปริมาณ

                  จำนวนผู้สำเร็จการศึกษา ปวช.3 จำนวน  140  คน และ ปวส.2 จำนวน  127 คน ในปีการศึกษาที่ผ่านมามีงานทำในสถานประกอบการ หน่วยงานภาครัฐและเอกชน ประกอบอาชีพอิสระหรือศึกษาต่อ ปวช.3 จำนวน 110 คน  และ ปวส.2 จำนวน 117  คน        

           1.8.2) เชิงคุณภาพ

                  ร้อยละของผู้สำเร็จการศึกษา ปวช.3 ร้อยละ 78.57  และ ปวส.2 ร้อยละ 92.12 ในปีการศึกษาที่ ผ่านมา มีงานทำในสถานประกอบการ หน่วยงานภาครัฐและเอกชน ประกอบอาชีพอิสระหรือศึกษาต่อ

           1.8.3) ผลสะท้อน

                  ผู้มีงานทำและศึกษาต่อ คิดเป็นร้อยละ 85.01

          1.9) การบริการชุมชนและจิตอาสา

1.9.1) เชิงปริมาณ : ผู้บริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษาและผู้เรียน ได้เข้าร่วมกิจกรรมบริการชุมชนและจิตอาสา  จำนวนไม่น้อยกว่า 14 โครงการ

1.9.2) เชิงคุณภาพ : ผู้บริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษาและผู้เรียน ได้เข้าร่วมกิจกรรมบริการชุมชนและจิตอาสา

1.9.3) ผลสะท้อน : สถานศึกษาให้บริการชุมชนและจิตอาสา  เป็นการสร้างชื่อเสียง ให้ความรู้ ประสบการณ์ และสร้างเครือข่ายแก่เกษตรกร

4.1.2 จุดเด่น

สถานศึกษาประสบความสำเร็จในระบบดูแลและแนะแนวผู้เรียน ส่งผลให้มีผู้สำเร็จการศึกษาสูงกว่าร้อยละ 80 ซึ่งอยู่ในระดับคุณภาพยอดเยี่ยม ส่งผลให้ ผู้สำเร็จการศึกษาอาชีวศึกษามีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตามมาตรฐานที่สถานศึกษากำหนดด้าน ความรู้ ด้านทักษะและการประยุกต์ใช้ และ ด้านคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะที่พึงประสงค์  ซึ่งในการดำเนินการระบบดูแลและแนะแนวผู้เรียน ของสถานศึกษา ทำให้ มีผู้สำเร็จการศึกษาสูงขึ้น มีผู้สำเร็จการศึกษามีงานทำหรือศึกษาต่อ ร้อยละ 85.01 สถานประกอบการพึงพอใจต่อผู้สำเร็จการศึกษาที่มีงานทำ

4.1.3 จุดที่ควรพัฒนา

การส่งเสริมผู้เรียน ด้านทักษะภาษา ได้แก่ภาษาไทย  และภาษาอังกฤษ

การส่งเสริมผู้เรียน ด้านทักษะการคิด วิเคราะห์ และการคิดอย่างมีวิจารณญาณ

4.1.4 ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา

ควรปรับพื้นฐานผู้เรียน ด้านทักษะภาษาภาษาไทย  ภาษาอังกฤษ และ ทักษะการคิด วิเคราะห์ และการคิดอย่างมีวิจารณญาณ  โดยมีเป้าหมายการพัฒนาผู้สำเร็จการศึกษาให้มีผลคะแนนเฉลี่ยจากการทดสอบทางการศึกษาของสถานศึกษาสูงกว่าค่าเฉลี่ยระดับชาติ

4.2 มาตรฐานที่ 2 การจัดการอาชีวศึกษา

4.2.1 ผลสัมฤทธิ์

1) ด้านหลักสูตรอาชีวศึกษา

1.1) การพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะอย่างเป็นระบบ

            1.1.1)  เชิงปริมาณ  :  ประเภทวิชาที่จัดการเรียนการสอนมีการพัฒนาให้เป็นหลักสูตรฐานสมรรถนะอย่างเป็นระบบ แบ่งเป็นระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) และ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ดังต่อไปนี้

   ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)

1.  ประเภทวิชาเกษตรกรรม

2.  ประเภทวิชาพาณิชยกรรม

3.  ประเภทวิชาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว

   ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)

1.  ประเภทวิชาเกษตรกรรม

2.  ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ

3.  ประเภทวิชาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว

            1.1.2)  เชิงคุณภาพ : ผลการประเมินการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะอย่างเป็นระบบ มีผลการประเมินตามข้อ 2,3,4,5  ค่าคะแนน  4  ระดับคุณภาพ ดีเยี่ยม

            1.1.3)  ผลสะท้อน  :  องค์กร หน่วยงานภายนอก หรือผู้มีส่วนเกี่ยวข้องให้การยอมรับสถานศึกษาในการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะอย่างเป็นระบบ

1.2)  การพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะหรือปรับปรุงรายวิชา หรือปรับปรุงรายวิชาเดิม หรือกำหนดรายวิชาเพิ่มเติม

            1.2.1)  เชิงปริมาณ  :  จำนวนสาขาวิชาทั้งหมดที่เปิดสอน มีทั้งหมด  12  สาขา ดังนี้

หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)

      1.  สาขาวิชาเกษตรศาสตร์

      2.  สาขาวิชาการบัญชี

      3.  สาขาวิชาคอมพิวเตอร์

      4.  สาขาวิชาการโรงแรม           

หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)

      1.  สาขาวิชาพืชศาสตร์

      2.  สาขาวิชาสัตวศาสตร์

      3.  สาขาวิชาช่างกลเกษตร

      4.  สาขาวิชาอุตสาหกรรมเกษตร

      5.  สาขาวิชาการบัญชี

      6.  สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ

      7.  สาขาวิชาการโรงแรม

      8.  สาขาวิชาการจัดการธุรกิจค้าปลีก

            สาขาวิชาที่มีการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะ หรือปรับปรุงรายวิชา หรือปรับปรุงรายวิชาเดิม หรือกำหนดรายวิชาเพิ่มเติม มีทั้งหมด 1 สาขาวิชา คือ สาขาวิชาพืชศาสตร์ สาขางานพืชไร่

            1.2.2)  เชิงคุณภาพ : สาขาวิชามีการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะหรือปรับปรุงรายวิชา หรือปรับปรุงรายวิชาเดิม หรือกำหนดรายวิชาเพิ่มเติม  คิดเป็นร้อยละ 8.33

            1.1.3)  ผลสะท้อน  :  องค์กร หน่วยงานภายนอก หรือผู้มีส่วนเกี่ยวข้องให้การยอมรับสถานศึกษาในการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะอย่างเป็นระบบ 

1.3)  คุณภาพของแผนการจัดการเรียนรู้สู่การปฏิบัติ

            1.3.1)  เชิงปริมาณ  :  ครูผู้สอนมีการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้สู่การปฏิบัติที่มีคุณภาพ  คิดเป็นร้อยละ  68

            1.3.2)  เชิงคุณภาพ :

1.  ครูผู้สอนที่มีคุณวุฒิตรงตามสาขาวิชาที่สอน คิดเป็นร้อยละ 100

2.  ครูผู้สอนมีแผนการจัดการเรียนรู้ครบทุกรายวิชาที่สอน  คิดเป็นร้อยละ  5.45

3.  ครูผู้สอนที่จัดการเรียนการสอนตรงตามแผนด้วยเทคนิคทีหลากหลายและมีการวัดผลตามสภาพจริง     คิดเป็นร้อยละ  100

4. ครูผู้สอนที่ทำวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพจัดการเรียนรู้และแก้ปัญหาการเรียน คิดเป็นร้อยละ  34.54

5.  ครูผู้สอนที่ใช้สื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีทางการศึกษา  คิดเป็นร้อยละ  100

            1.3.3)  ผลสะท้อน  :  องค์กร หน่วยงานภายนอก หรือผู้มีส่วนเกี่ยวข้องให้การยอมรับคุณภาพแผนการจัดการเรียนรู้สู้การปฏิบัติ  จริง

1.4)  การจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้สู่การปฏิบัติที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญและนำไปใช้ใน การจัดการเรียนการสอน

            1.4.1)  เชิงปริมาณ :  ครูผู้สอนจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้สู่การปฏิบัติที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญและนำไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน มีทั้งหมด  55  คน

            1.4.2)  เชิงคุณภาพ : ครูผู้สอนจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้สู่การปฏิบัติ ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญและนำไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน  คิดเป็นร้อยละ  98.18

            1.1.3)  ผลสะท้อน  :  นักเรียน นักศึกษาได้เรียนตรงตามแผนการจัดการเรียนรู้สู้การปฏิบัติที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

2) ด้านการจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา

2.1) การจัดการเรียนการสอน

2.1.1) เชิงปริมาณ : 1. ครูผู้สอนที่มีคุณวุฒิทางการศึกษาตรงตามสาขาวิชาที่สอน จำนวน 55 คน

2. ครูที่มีแผนการจัดการเรียนรู้ครบทุกรายวิชาที่สอน จำนวน 41 คน

3. ครูที่จัดการเรียนการสอนตรงตามแผนการจัดการเรียนรู้ ด้วยเทคนิควิธีการสอนที่หลากหลาย จำนวน 55 คน

4. ครูที่ใช้สื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีทางการศึกษา และแหล่งการเรียนรู้ในการจัดการเรียนการสอน จำนวน 55 คน

5. ครูผู้สอนที่ทำวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพจัดการเรียนรู้และ แก้ปัญหาการจัดการเรียนรู้ จำนวน 22 คน

2.2.2) เชิงคุณภาพ : ครูผู้สอนที่มีคุณภาพในการจัดการเรียนการสอน คิดเป็นร้อยละ 74.54

2.2.3) ผลสะท้อน : สถานศึกษาได้สร้างชื่อเสียงจากการจัดการเรียนการสอนด้านนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ งานวิจัยตามบริบทของสถานศึกษา

 

2.2) การบริหารจัดการชั้นเรียน

2.2.1) เชิงปริมาณ :

1. ครูผู้สอนที่จัดทำข้อมูลผู้เรียนเป็นรายบุคคล จำนวน 47 คน

2. ครูผู้สอนที่มีข้อมูลสารสนเทศหรือเอกสารประจำชั้นเรียน และรายวิชาเป็นปัจจุบัน จำนวน 51 คน

3. ครูผู้สอนที่ใช้เทคนิควิธีการบริหารจัดการชั้นเรียนให้มี บรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ จำนวน 49 คน

4. ครูผู้สอนที่ใช้วิธีการเสริมแรงให้ผู้เรียนมีความมุ่งมั่นตั้งใจ ในการเรียน จำนวน 54 คน

5. ครูผู้สอนที่ดูแลช่วยเหลือผู้เรียนรายบุคคลด้านการเรียน และด้านอื่น ๆ จำนวน 54 คน

2.2.2) เชิงคุณภาพ :

1. ครูผู้สอนที่จัดทำข้อมูลผู้เรียนเป็นรายบุคคล คิดเป็นร้อยละ 85.45

2. ครูผู้สอนที่มีข้อมูลสารสนเทศหรือเอกสารประจำชั้นเรียน และรายวิชาเป็นปัจจุบัน คิดเป็นร้อยละ 92.72

3. ครูผู้สอนที่ใช้เทคนิควิธีการบริหารจัดการชั้นเรียนให้มี บรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ คิดเป็นร้อยละ 89.09

4. ครูผู้สอนที่ใช้วิธีการเสริมแรงให้ผู้เรียนมีความมุ่งมั่นตั้งใจ ในการเรียน คิดเป็นร้อยละ 98.18

5. ครูผู้สอนที่ดูแลช่วยเหลือผู้เรียนรายบุคคลด้านการเรียน และด้านอื่น ๆ คิดเป็นร้อยละ 98.18

2.2.3) ผลสะท้อน : ผู้เรียนมีความพึงพอใจต่อครูผู้สอนที่ดูแลช่วยเหลือ และได้รับการยอมรับจากผู้ปกครอง

 

2.3) การเข้าถึงระบบอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงเพื่อการจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียน

2.3.1) เชิงปริมาณ : ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการที่มีระบบอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง ในการจัดการเรียนการสอน จำนวน 50 ห้อง

2.3.2) เชิงคุณภาพ : ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการที่มีระบบอินเทอร์เน็ต ความเร็วสูงในการจัดการเรียนการสอน คิดเป็นร้อยละ 100

2.3.3) ผลสะท้อน : ครูและบุคลากรทางการศึกษา   และนักเรียนนักศึกษา  ที่เข้ามาใช้บริการห้องเรียนที่มีอินเทอร์เน็ต โดยไม่มีค่าใช้จ่าย และสามารถใช้ระบบอินเทอร์เน็ตได้อย่างทั่วถึง  ครอบคลุมพื้นที่ในการใช้งาน

3) ด้านการบริหารจัดการ

มาตรฐานที่ 2 การจัดการอาชีวศึกษา

ประเด็นที่ 2.3 ด้านการบริหารจัดการ

        สถานศึกษาบริหารจัดการบุคลากร สภาพแวดล้อม ภูมิทัศน์ อาคารสถานที่ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ  โรงฝึกงาน ศูนย์วิทยบริการ สื่อ แหล่งเรียนรู้ เทคโนโลยีสารสนเทศ ครุภัณฑ์ และงบประมาณของสถานศึกษาที่มีอยู่อย่างเต็มศักยภาพและมีประสิทธิภาพ

 

3.1) การพัฒนาตนเองและการพัฒนาวิชาชีพ

3.1.1) เชิงปริมาณ :

1. ครูผู้สอนที่จัดทำแผนพัฒนาตนเองและเข้าร่วมการพัฒนาวิชาชีพ จำนวน 44 คน คิดเป็นร้อยละ 80.00

2. ครูผู้สอนที่ได้รับการพัฒนาตนเองอย่างน้อย 12 ชั่วโมงต่อปี จำนวน 51 คน คิดเป็นร้อยละ 92.72

3. ครูผู้สอนที่นำผลจากการพัฒนาตนเองและการพัฒนา วิชาชีพมาใช้ในการจัดการเรียนการสอนจำนวน 51 คน คิดเป็นร้อยละ 92.72

4. จำนวนครูผู้สอนที่มีผลงานจากการพัฒนาตนเองและการพัฒนาวิชาชีพ  จำนวน 18 คน คิดเป็นร้อยละ 32.72

5. ครูผู้สอนที่มีนวัตกรรมจากการพัฒนาตนเองและการ

พัฒนาวิชาชีพที่ได้รับการยอมรับหรือเผยแพร่ จำนวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 20

3.1.2) เชิงคุณภาพ : ครูผู้สอนที่นำผลจากการพัฒนาตนเองและการพัฒนา วิชาชีพมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน คิดเป็นร้อยละ 92.72

3.1.3) ผลสะท้อน : ครูผู้สอนที่รับการพัฒนาตนเองและการพัฒนาวิชาชีพมาใช้เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนการสอน

 

 

3.2) การบริหารสถานศึกษาแบบมีส่วนร่วม

3.2.1) เชิงปริมาณ : ได้มีการจัดประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการในการกำหนดมาตรฐานการศึกษาของวิทยาลัยอย่างต่อเนื่องทุกปีการศึกษา

3.2.2) เชิงคุณภาพ : ผู้บริหารสถานศึกษาให้ครูและบุคลากรทางการศึกษามีส่วนร่วม ในการกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา จัดทำแผนพัฒนาสถานศึกษา จัดทำแผนปฏิบัติงานประจำปี และได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษารวม 4 รายการประเมิน   มีคุณภาพอยู่ในระดับดีเลิศ

3.2.3) ผลสะท้อน : สถานประกอบการที่ทำความตกลงร่วมกันจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี จำนวน ….. แห่ง มีความพึงพอใจต่อ ผู้บริหารสถานศึกษา ในการบริหารสถานศึกษาแบบมีส่วนร่วม

 

3.3) การเข้าถึงระบบอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงเพื่อการจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียน

3.3.1) เชิงปริมาณ : ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการที่มีระบบอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง ในการจัดการเรียนการสอน จำนวน 50 ห้อง

3.3.2) เชิงคุณภาพ : ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการที่มีระบบอินเทอร์เน็ต ความเร็วสูงในการจัดการเรียนการสอน คิดเป็นร้อยละ 100

3.3.3) ผลสะท้อน : ครูและบุคลากรทางการศึกษา   และนักเรียนนักศึกษา  ที่เข้ามาใช้บริการห้องเรียนที่มีอินเทอร์เน็ต โดยไม่มีค่าใช้จ่าย และสามารถใช้ระบบอินเทอร์เน็ตได้อย่างทั่วถึง  ครอบคลุมพื้นที่ในการใช้งาน

 

3.4) การจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี

3.4.1) เชิงปริมาณ : 1.สาขาวิชาที่จัดการเรียนการสอนในระบบทวิภาคี

ปวช.3 คิดเป็นร้อยละ 28.57

ปวส.2 คิดเป็นร้อยละ 100

2. ผู้เรียนที่ศึกษาในระบบทวิภาคี คิดเป็นร้อยละ 52.65

3.4.2) เชิงคุณภาพ : 1.สาขาวิชาที่จัดการเรียนการสอนในระบบทวิภาคี

ปวช.3 คิดเป็นร้อยละ 28.57

ปวส.2 คิดเป็นร้อยละ 100

2. ผู้เรียนที่ศึกษาในระบบทวิภาคี คิดเป็นร้อยละ 52.65

3.4.3) ผลสะท้อน : สถานศึกษาได้รับการยอมรับจากสถานประกอบการให้ความร่วมมือในการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาผู้เรียนตามสมรรถนะวิชาชีพ

 

3.5) การระดมทรัพยากรเพื่อการจัดการเรียนการสอน

3.5.1) เชิงปริมาณ : สาขาวิชาหรือสาขางานที่มีการระดมทรัพยากรเพื่อการจัดการเรียนการสอน คิดเป็นร้อยละ 100 

3.5.2) เชิงคุณภาพ : มีการระดมทรัพยากรเพื่อการจัดการเรียนการสอนทุกสาขาวิชา

3.5.3) ผลสะท้อน : สถานศึกษาได้รับการสนับสนุนทุน วัสดุ อุปกรณ์ ครุภัณฑ์ ฯลฯ เพื่อใช้ในการจัดการเรียนการสอน

 

3.6) อาคารสถานที่ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ โรงฝึกงานหรืองานฟาร์ม

3.6.1) เชิงปริมาณ : ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ หรือโรงฝึกงานที่ได้รับการ พัฒนาให้เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ คิดเป็นร้อยละ 100

3.6.2) เชิงคุณภาพ : อาคารสถานที่ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ โรงฝึกงานหรืองานฟาร์ม พัฒนาให้เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้

3.6.3) ผลสะท้อน : สถานศึกษามีอาคารสถานที่ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ โรงฝึกงานหรืองานฟาร์ม พัฒนาให้เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ เกิดประโยชน์ต่อการจัดการเรียนการสอนและบุคคลภายนอกที่เข้าศึกษาดูงาน

 

 

3.7) ระบบสาธารณูปโภคพื้นฐาน

3.7.1) เชิงปริมาณ : ระบบสาธารณูปโภคพื้นฐาน ได้แก่ ระบบไฟฟ้า ระบบประปา การคมนาคมภายในสถานศึกษา ระบบการสื่อสารภายใน และ ระบบรักษาความปลอดภัยได้รับการบำรุงรักษาและพัฒนา อย่างต่อเนื่อง

3.7.2) เชิงคุณภาพ : ระบบไฟฟ้า ระบบประปา การคมนาคมภายในสถานศึกษา ระบบการสื่อสารภายใน และ ระบบรักษาความปลอดภัยได้รับการบำรุงรักษาอย่างต่อเนื่อง

3.7.3) ผลสะท้อน : ผู้ใช้บริการในระบบสาธารณูปโภคพื้นฐาน มีความพึงพอใจ

 

3.8) แหล่งเรียนรู้และศูนย์วิทยบริการ

3.8.1) เชิงปริมาณ : ผู้เรียนที่ใช้บริการแหล่งเรียนรู้และศูนย์วิทยบริการ คิดเป็นร้อยละ 96.00

3.8.2) เชิงคุณภาพ : ผู้เรียนที่ใช้บริการแหล่งเรียนรู้และศูนย์วิทยบริการ จำนวน 1,599 คน

3.8.3) ผลสะท้อน : สถานศึกษามีแหล่งเรียนรู้และศูนย์วิทยบริการ ที่มีผู้ใช้บริการอย่างต่อเนื่องเป็นจำนวนมาก

 

3.9) ระบบอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงเพื่อการใช้งานด้านสารสนเทศภายในสถานศึกษา

3.9.1) เชิงปริมาณ : ความเร็วของสัญญาณอินเทอร์เน็ต อยู่ที่ 20 Mb/s และครอบคลุมพื้นที่

ใช้งาน และภายในสถานศึกษา

3.9.2) เชิงคุณภาพ : สถานศึกษามีระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตรองรับการใช้งาน ให้กับผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษา   และนักเรียนนักศึกษา  ที่เข้ามาใช้บริการอินเทอร์เน็ต โดยไม่มีค่าใช้จ่าย และสามารถใช้ระบบอินเทอร์เน็ตได้อย่างทั่วถึง  ครอบคลุมพื้นที่ในการใช้งานภายในสถานศึกษา

3.9.3) ผลสะท้อน : ผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษา   และนักเรียนนักศึกษา  ที่เข้ามาใช้บริการอินเทอร์เน็ต โดยไม่มีค่าใช้จ่าย และสามารถใช้ระบบอินเทอร์เน็ตได้อย่างทั่วถึง  ครอบคลุมพื้นที่ในการใช้งานภายในสถานศึกษา

 

3.10) การเข้าถึงระบบอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงเพื่อการจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียน

3.10.1) เชิงปริมาณ : ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการที่มีระบบอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง ในการจัดการเรียนการสอน จำนวน 50 ห้อง

3.10.2) เชิงคุณภาพ : ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการที่มีระบบอินเทอร์เน็ต ความเร็วสูงในการจัดการเรียนการสอน คิดเป็นร้อยละ 100

3.10.3) ผลสะท้อน : ครูและบุคลากรทางการศึกษา   และนักเรียนนักศึกษา  ที่เข้ามาใช้บริการห้องเรียนที่มีอินเทอร์เน็ต โดยไม่มีค่าใช้จ่าย และสามารถใช้ระบบอินเทอร์เน็ตได้อย่างทั่วถึง  ครอบคลุมพื้นที่ในการใช้งาน

4) ด้านการนำนโยบายสู่การปฏิบัติ

2.1) การจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี

2.1.1) เชิงปริมาณ : 1.สาขาวิชาที่จัดการเรียนการสอนในระบบทวิภาคี

ปวช.3 คิดเป็นร้อยละ 28.57

ปวส.2 คิดเป็นร้อยละ 100

2. ผู้เรียนที่ศึกษาในระบบทวิภาคี คิดเป็นร้อยละ 52.65

2.1.2) เชิงคุณภาพ : 1.สาขาวิชาที่จัดการเรียนการสอนในระบบทวิภาคี

ปวช.3 คิดเป็นร้อยละ 28.57

ปวส.2 คิดเป็นร้อยละ 100

2. ผู้เรียนที่ศึกษาในระบบทวิภาคี คิดเป็นร้อยละ 52.65

2.1.3) ผลสะท้อน : สถานศึกษาได้รับการยอมรับจากสถานประกอบการให้ความร่วมมือในการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาผู้เรียนตามสมรรถนะวิชาชีพ

 

 

 

2.2) การระดมทรัพยากรเพื่อการจัดการเรียนการสอน

2.2.1) เชิงปริมาณ : สาขาวิชาหรือสาขางานที่มีการระดมทรัพยากรเพื่อการจัดการเรียนการสอน คิดเป็นร้อยละ 100 

2.2.2) เชิงคุณภาพ : มีการระดมทรัพยากรเพื่อการจัดการเรียนการสอนทุกสาขาวิชา

2.2.3) ผลสะท้อน : สถานศึกษาได้รับการสนับสนุนทุน วัสดุ อุปกรณ์ ครุภัณฑ์ ฯลฯ เพื่อใช้ในการจัดการเรียนการสอน

 

 

2.3) การบริการชุมชนและจิตอาสา

2.3.1) เชิงปริมาณ : ผู้บริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษาและผู้เรียน ได้เข้าร่วมกิจกรรมบริการชุมชนและจิตอาสา  จำนวนไม่น้อยกว่า 14 โครงการ

2.3.2) เชิงคุณภาพ : ผู้บริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษาและผู้เรียน ได้เข้าร่วมกิจกรรมบริการชุมชนและจิตอาสา

2.3.3) ผลสะท้อน : สถานศึกษาให้บริการชุมชนและจิตอาสา  เป็นการสร้างชื่อเสียง ให้ความรู้ ประสบการณ์ และสร้างเครือข่ายแก่เกษตรกร

 

2.4) ระบบอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงเพื่อการใช้งานด้านสารสนเทศภายในสถานศึกษา

2.4.1) เชิงปริมาณ : ความเร็วของสัญญาณอินเทอร์เน็ต อยู่ที่ 20 Mb/s และครอบคลุมพื้นที่

ใช้งาน และภายในสถานศึกษา

2.4.2) เชิงคุณภาพ : สถานศึกษามีระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตรองรับการใช้งาน ให้กับผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษา   และนักเรียนนักศึกษา  ที่เข้ามาใช้บริการอินเทอร์เน็ต โดยไม่มีค่าใช้จ่าย และสามารถใช้ระบบอินเทอร์เน็ตได้อย่างทั่วถึง  ครอบคลุมพื้นที่ในการใช้งานภายในสถานศึกษา

2.4.3) ผลสะท้อน : ผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษา   และนักเรียนนักศึกษา  ที่เข้ามาใช้บริการอินเทอร์เน็ต โดยไม่มีค่าใช้จ่าย และสามารถใช้ระบบอินเทอร์เน็ตได้อย่างทั่วถึง  ครอบคลุมพื้นที่ในการใช้งานภายในสถานศึกษา

 

 

2.5) การเข้าถึงระบบอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงเพื่อการจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียน

2.5.1) เชิงปริมาณ : ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการที่มีระบบอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง ในการจัดการเรียนการสอน จำนวน 50 ห้อง

2.5.2) เชิงคุณภาพ : ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการที่มีระบบอินเทอร์เน็ต ความเร็วสูงในการจัดการเรียนการสอน คิดเป็นร้อยละ 100

2.5.3) ผลสะท้อน : ครูและบุคลากรทางการศึกษา   และนักเรียนนักศึกษา  ที่เข้ามาใช้บริการห้องเรียนที่มีอินเทอร์เน็ต โดยไม่มีค่าใช้จ่าย และสามารถใช้ระบบอินเทอร์เน็ตได้อย่างทั่วถึง  ครอบคลุมพื้นที่ในการใช้งาน

4.2.2 จุดเด่น

สถานศึกษาการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีทั้งในและต่างประเทศ

สถานศึกมีภูมิทัศน์ที่สวยงาม อาคารสถานที่ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ โรงฝึกงาน หรืองานฟาร์มที่เอื้อต่อการจัดการเรียนการสอน

มีการระดมทรัพยากรเพื่อการจัดการเรียนการสอน

4.2.3 จุดที่ควรพัฒนา

ครูผู้สอนที่มีนวัตกรรมจากการพัฒนาตนเองและการพัฒนาวิชาชีพที่ได้รับการยอมรับ หรือเผยแพร่

4.2.4 ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา

ควรสนับสนุน ส่งเสริมให้ครูมีนวัตกรรมจากการพัฒนาตนเองและการพัฒนาวิชาชีพที่ได้รับการยอมรับ หรือเผยแพร่ เพิ่มขึ้น

4.3 มาตรฐานที่ 3 การสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้

4.3.1 ผลสัมฤทธิ์

1) ด้านความร่วมมือในการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้

3.1) การพัฒนาตนเองและการพัฒนาวิชาชีพ

3.1.1) เชิงปริมาณ :

1. ครูผู้สอนที่จัดทำแผนพัฒนาตนเองและเข้าร่วมการพัฒนาวิชาชีพ จำนวน 44 คน คิดเป็นร้อยละ 80.00

2. ครูผู้สอนที่ได้รับการพัฒนาตนเองอย่างน้อย 12 ชั่วโมงต่อปี จำนวน 51 คน คิดเป็นร้อยละ 92.72

3. ครูผู้สอนที่นำผลจากการพัฒนาตนเองและการพัฒนา วิชาชีพมาใช้ในการจัดการเรียนการสอนจำนวน 51 คน คิดเป็นร้อยละ 92.72

4. จำนวนครูผู้สอนที่มีผลงานจากการพัฒนาตนเองและการพัฒนาวิชาชีพ  จำนวน 18 คน คิดเป็นร้อยละ 32.72

5. ครูผู้สอนที่มีนวัตกรรมจากการพัฒนาตนเองและการ

พัฒนาวิชาชีพที่ได้รับการยอมรับหรือเผยแพร่ จำนวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 20

3.1.2) เชิงคุณภาพ : ครูผู้สอนที่นำผลจากการพัฒนาตนเองและการพัฒนา วิชาชีพมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน คิดเป็นร้อยละ 92.72

3.1.3) ผลสะท้อน : ครูผู้สอนที่รับการพัฒนาตนเองและการพัฒนาวิชาชีพมาใช้เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนการสอน

 

3.2) การบริหารสถานศึกษาแบบมีส่วนร่วม

3.2.1) เชิงปริมาณ : ได้มีการจัดประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการในการกำหนดมาตรฐานการศึกษาของวิทยาลัย

3.2.2) เชิงคุณภาพ : ผู้บริหารสถานศึกษาให้ครูและบุคลากรทางการศึกษามีส่วนร่วม ในการกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา จัดทำแผนพัฒนาสถานศึกษา จัดทำแผนปฏิบัติงานประจำปี และได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษา

3.2.3) ผลสะท้อน : สถานประกอบการที่จัดการศึกษาร่วมกับสถานศึกษา มีความพึงพอใจต่อ ผู้บริหารสถานศึกษา ในการบริหารสถานศึกษาแบบมีส่วนร่วม

 

3.4) การระดมทรัพยากรเพื่อการจัดการเรียนการสอน

3.4.1) เชิงปริมาณ : สาขาวิชาหรือสาขางานที่มีการระดมทรัพยากรเพื่อการจัดการเรียนการสอน คิดเป็นร้อยละ 100 

3.4.2) เชิงคุณภาพ : มีการระดมทรัพยากรเพื่อการจัดการเรียนการสอนทุกสาขาวิชา

3.4.3) ผลสะท้อน : สถานศึกษาได้รับการสนับสนุนทุน วัสดุ อุปกรณ์ ครุภัณฑ์ ฯลฯ เพื่อใช้ในการจัดการเรียนการสอน

 

3.5) การบริการชุมชนและจิตอาสา

3.5.1) เชิงปริมาณ : ผู้บริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษาและผู้เรียน ได้เข้าร่วมกิจกรรมบริการชุมชนและจิตอาสา  จำนวนไม่น้อยกว่า 14 โครงการ

3.5.2) เชิงคุณภาพ : ผู้บริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษาและผู้เรียน ได้เข้าร่วมกิจกรรมบริการชุมชนและจิตอาสา

3.5.3) ผลสะท้อน : สถานศึกษาให้บริการชุมชนและจิตอาสา  เป็นการสร้างชื่อเสียง ให้ความรู้ ประสบการณ์ และสร้างเครือข่ายแก่เกษตรกร

2) ด้านนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ งานวิจัย

1.1) ผลงานของผู้เรียนด้านนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรืองานวิจัย

            1.1.1) เชิงปริมาณ

                  จำนวนผลงาน นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรือ งานวิจัย ในปีการศึกษา 2561 มีจำนวนทั้งสิ้น 44  ผลงาน

           1.1.2) เชิงคุณภาพ

                  สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมประกวดนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ และงานวิจัยในสถานศึกษา  ในระหว่างวันที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2562  และทางสถานศึกษาได้คัดเลือกโครงงานวิทยาศาสตร เรื่อง ไอศกรีมข้าวโพดผสมเห็ดนางฟ้า และสิ่งประดิษฐ์คนรุ่นใหม่ เรื่อง ผลิตภัณฑ์น้ำปรุงรสใบกระเพราเห็นนางฟ้า จากชุมชนนำไปประกอบอาชีพ นอกจากนี้ยังมีโครงการผลิตหญ้าหวานเพื่อจำหน่าย ได้รับการยอมรับจากเกษตรกร ชุมชน และวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีจังหวัดอื่น สั่งซื้อท่อนพันธุ์เพื่อนำไปปลูกขยายพันธุ์และจำหน่าย (ผลงานนำไปใช้ได้จริงระดับประเทศ)

           1.1.3) ผลสะท้อน

นักเรียน นักศึกษาได้รับการพัฒนาความรู้ ทักษะ และเกิดรายได้จากการดำเนินโครงการวิชาชีพและได้รับการยอมรับจากชุมชนและหน่วยงานอื่น

 

 2.1) ผลการแข่งขันทักษะวิชาชีพ

             2.1.1) เชิงปริมาณ

                   จำนวนผู้เรียนที่ได้รับรางวัลจากการแข่งขันทักษะวิชาชีพ ระดับภาค 89 คน และระดับชาติ 85 คน

            2.2.2) เชิงคุณภาพ

                   ผลการแข่งขันทักษะวิชาชีพในแต่ละระดับ  ระดับภาค 89 คน ระดับชาติ 85 คน

            2.2.3) ผลสะท้อน

                   สถานศึกษาได้เข้าร่วมในการประชุมวิชาการ องค์เกษตรกรในอนาคตแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

ระดับชาติ ครั้งที่ 40 ณ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลโยพะเยา ได้คะแนนรวมลำดับที่ 5

4.3.2 จุดเด่น

1. โครงการชีววิถีเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน ประเภทที่ 1 การดำเนินงานภายในวิทยาลัยดีเด่น ปีการศึกษา 2561

2. โครงการการพัฒนาเพื่อขับเคลื่อนสถานศึกษาพอเพียง ปีงบประมาณ 2561

3. โครงการ Fix it Center ปีการศึกษา 2561

4. โครงการฝึกอบรมและพัฒนาเกษตรกรให้เป็น Smart Farmer ประจำปีงบประมาน พ.ศ. 2561 หลักสูตรการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากผลผลิตทางการเกษตรสู่ธุรกิจการท่องเที่ยว

6. โครงการฝึกอบรมหลักสูตรระยะสั้นเพื่อมอบเป็นของขวัญให้แก่ประชาชน ในช่วงเทศกาลปีใหม่ 2561 หลักสูตรการแปรรูปผลิตภัณฑ์เกษตร

7. โครงการฝึกอบรมหลักสูตรระยะสั้นเพื่อมอบเป็นของขวัญให้แก่ประชาชน ในช่วงเทศกาลปีใหม่ 2561 หลักสูตรการผลิตผลิตภัณฑ์คุกกี้

8. โครงการอาชีวะพัฒนาค่านิยมไทย : เกษตรทฤษฎีใหม่และวัฒนธรรมท้องถิ่น หลักสูตร การปลูกผักปลอดสารพิษและการเลี้ยงสัตว์อินทรีย์ ปีงบประมาณ 2561

9. โครงการส่งเสริมการพัฒนาทักษะอาชีพให้กับผู้เรียนตามนโยบายลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้

1-31 สิงหาคม 2561

10. กิจกรรมสัมพันธ์ชุมชน โครงการ 108 อาชีพโดยชมรมวิชาชีพอุตสาหกรรมเกษตร

11.โครงการกิจกรรม OPEN HOUSE  ปีการศึกษา 2561

4.3.3 จุดที่ควรพัฒนา

จัดทำแผนงาน โครงการ อย่างต่อเนื่อง

4.3.4 ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา

เพิ่มงบประมาณ ด้านนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ งานวิจัย

ตารางที่ 4.1 สรุปคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาตามมาตรฐาน

 

ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
ตามมาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ.2561

คะแนนที่ได้

มาตรฐานที่ 1 คุณลักษณะของผู้สำเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาที่พึงประสงค์

91.88

ประเด็นที่ 1.1 ด้านความรู้

91.67

ประเด็นที่ 1.2 ด้านทักษะและการประยุกต์ใช้

91.67

ประเด็นที่ 1.3 ด้านคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะที่่พึงประสงค์

92.31

มาตรฐานที่ 2 การจัดการศึกษา

92.50

ประเด็นที่ 2.1 ด้านหลักสูตรอาชีวศึกษา

76.00

ประเด็นที่ 2.2 ด้านการจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา

100.00

ประเด็นที่ 2.3 ด้านการบริหารจัดการ

94.00

ประเด็นที่ 2.4 ด้านการนำนโยบายสู่การปฏิบัติ

100.00

มาตรฐานที่ 3 การสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้

90.63

ประเด็นที่ 3.1 ด้านความร่วมมือในการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้

88.75

ประเด็นที่ 3.2 ด้านนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ งานวิจัย

92.50

สรุปผลการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา

91.67

สรุป ระดับคุณภาพสถานศึกษา
ยอดเยี่ยม (ร้อยละ 80 ขึ้นไป) ดีเลิศ (ร้อยละ 70.00 – 79.99) ดี (ร้อยละ 60.00 – 69.99) ปานกลาง (ร้อยละ 50.00 – 59.99) กำลังพัฒนา (น้อยกว่าร้อยละ 50.00)

ส่วนที่ 5
ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
ตามเกณฑ์การประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาอาชีวศึกษา


ให้สถานศึกษารายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาตามเกณฑ์การประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาอาชีวศึกษา จำนวน 5 ด้าน ตามระดับการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ดังนี้

5.1 ผลการประเมินรายด้านและภาพรวม

สถานศึกษาที่จัดการศึกษาในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) และ หรือระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) และ หรือการฝึกอบรมวิชาชีพ รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา จำนวน 5 ด้าน 25 ข้อการประเมิน ดังนี้

5.1.1 ด้านผู้เรียนและผู้สำเร็จการศึกษา

การประเมินสมรรถนะผู้เรียนและผู้สำเร็จการศึกษาอาชีวศึกษา ที่เป็นผลมาจากการพัฒนาคุณภาพ ทางวิชาการ ทักษะและการประยุกต์ใช้ คุณธรรม จริยธรรมและคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ปรากฏผลดังตารางที่ 5.1

ตารางที่ 5.1 ผลการประเมินด้านผู้เรียนและผู้สำเร็จการศึกษาโดยภาพรวมและจำแนกเป็นรายการประเมิน

ข้อที่

รายการประเมิน

ผลการประเมิน

ค่า
น้ำหนัก
(50)

คะแนนที่ได้
จากการประเมิน
(ค่าน้ำหนักXค่าคะแนน)

คะแนน

ระดับ
คุณภาพ

1

การดูแลและแนะแนวผู้เรียน

5

ยอดเยี่ยม

2

10

2

ผู้เรียนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์

5

ยอดเยี่ยม

2

10

3

ผู้เรียนมีสมรรถนะในการเป็นผู้ประกอบการ หรือการประกอบอาชีพอิสระ

4

ดีเลิศ

3

12

4

ผลงานของผู้เรียนด้านนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรืองานวิจัย

4

ดีเลิศ

3

12

5

ผลการแข่งขันทักษะวิชาชีพ

4

ดีเลิศ

2

8

6

ผลการประเมินมาตรฐานวิชาชีพ

5

ยอดเยี่ยม

20

100

7

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านอาชีวศึกษา (V-NET)

1

กำลังพัฒนา

3

3

8

การมีงานทำและศึกษาต่อของผู้สำเร็จการศึกษา

5

ยอดเยี่ยม

15

75

ผลรวมคะแนนที่ได้จาการประเมิน

230

ร้อยละของคะแนน ด้านที่ 1 = (ผลรวมคะแนนที่ได้ X 100) / 250

92

สรุป ระดับคุณภาพสถานศึกษา ด้านที่ 1 ด้านผู้เรียนและผู้สำเร็จการศึกษา
ยอดเยี่ยม (ร้อยละ 80 ขึ้นไป) ดีเลิศ (ร้อยละ 70.00 – 79.99) ดี (ร้อยละ 60.00 – 69.99)
ปานกลาง (ร้อยละ 50.00 – 59.99) กำลังพัฒนา (น้อยกว่าร้อยละ 50.00)

 

5.1.2 ด้านหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน

สถานศึกษามีการพัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตรให้เป็นหลักสูตรฐานสมรรถนะอย่างเป็นระบบ มีการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะ หรือปรับปรุงรายวิชา หรือปรับปรุงรายวิชาเดิม หรือกำหนดรายวิชาเพิ่มเติม และมีการส่งเสริมสนับสนุนให้ครูจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้สู่การปฏิบัติที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ และนำไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนอย่างมีคุณภาพ เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะและทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 ปรากฏผลดังตารางที่ 5.2

ตารางที่ 5.2 ผลการประเมินด้านหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนโดยภาพรวมและจำแนกเป็นรายการประเมิน

ข้อที่

รายการประเมิน

ผลการประเมิน

ค่า
น้ำหนัก
(10)

คะแนนที่ได้
จากการประเมิน
(ค่าน้ำหนักXค่าคะแนน)

คะแนน

ระดับ
คุณภาพ

1. การพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะ

  

5

 

1.1

การพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะอย่างเป็นระบบ

5

ยอดเยี่ยม

2

10

1.2

การพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะ หรือปรับปรุงรายวิชา หรือปรับปรุงรายวิชาเดิม หรือกำหนดรายวิชาเพิ่มเติม

1

กำลังพัฒนา

3

3

2. การจัดการเรียนรู้สู่การปฏิบัติที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

  

5

 

2.1

คุณภาพของแผนการจัดการเรียนรู้สู่การปฏิบัติ

5

ยอดเยี่ยม

2

10

2.2

การจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้สู่การปฏิบัติที่เน้นผู้เรียน เป็นสำคัญและนำไปใช้ใน การจัดการเรียนการสอน

5

ยอดเยี่ยม

3

15

ผลรวมคะแนนที่ได้จาการประเมิน

38

ร้อยละของคะแนน ด้านที่ 2 = (ผลรวมคะแนนที่ได้ X 100) / 50

76

สรุป ระดับคุณภาพสถานศึกษา ด้านที่ 2 ด้านหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน
ยอดเยี่ยม (ร้อยละ 80 ขึ้นไป) ดีเลิศ (ร้อยละ 70.00 – 79.99) ดี (ร้อยละ 60.00 – 69.99)
ปานกลาง (ร้อยละ 50.00 – 59.99) กำลังพัฒนา (น้อยกว่าร้อยละ 50.00)

 

5.1.3 ด้านครูผู้สอนและผู้บริหารสถานศึกษา

สถานศึกษามีการส่งเสริม สนับสนุนและพัฒนาครูผู้สอนให้มีความรู้ ความสามารถในการจัดการเรียนรู้ ตามมาตรฐานตำแหน่ง สายงานครูผู้สอน และผู้บริหารสถานศึกษามีทักษะในการบริหาร จัดการศึกษาให้บรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้ ปรากฏผลดังตารางที่ 5.3

ตารางที่ 5.3 ผลการประเมินด้านครูผู้สอนและผู้บริหารสถานศึกษาโดยภาพรวมและจำแนกเป็นรายการประเมิน

ข้อที่

รายการประเมิน

ผลการประเมิน

ค่า
น้ำหนัก
(20)

คะแนนที่ได้
จากการประเมิน
(ค่าน้ำหนักXค่าคะแนน)

คะแนน

ระดับ
คุณภาพ

1. ครูผู้สอน

  

10

 

1.1

การจัดการเรียนการสอน

5

ยอดเยี่ยม

5

25

1.2

การบริหารจัดการชั้นเรียน

5

ยอดเยี่ยม

3

15

1.3

การพัฒนาตนเองและพัฒนาวิชาชีพ

3

ดี

2

6

2. ผู้บริหารสถานศึกษา

  

10

 

2.1

การบริหารสถานศึกษาแบบมีส่วนร่วม

4

ดีเลิศ

5

20

2.2

การบริหารจัดการระบบข้อมูลสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการสถานศึกษา

5

ยอดเยี่ยม

5

25

ผลรวมคะแนนที่ได้จาการประเมิน

91

ร้อยละของคะแนน ด้านที่ 3 = (ผลรวมคะแนนที่ได้ X 100) / 100

91

สรุป ระดับคุณภาพสถานศึกษา ด้านที่ 3 ด้านครูผู้สอนและผู้บริหารสถานศึกษา
ยอดเยี่ยม (ร้อยละ 80 ขึ้นไป) ดีเลิศ (ร้อยละ 70.00 – 79.99) ดี (ร้อยละ 60.00 – 69.99)
ปานกลาง (ร้อยละ 50.00 – 59.99) กำลังพัฒนา (น้อยกว่าร้อยละ 50.00)

 

5.1.4 ด้านการมีส่วนร่วม

สถานศึกษามีการส่งเสริม สนับสนุนให้สถานประกอบการ บุคคล ชุมชน องค์กรต่าง ๆ มีส่วนร่วมในการจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี มีการระดมทรัพยากรในการจัดการเรียนการสอน เพื่อยกระดับและพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา ปรากฏผลดังตารางที่ 5.4

ตารางที่ 5.4 ผลการประเมินด้านการมีส่วนร่วมโดยภาพรวมและจำแนกเป็นรายการประเมิน

ข้อที่

รายการประเมิน

ผลการประเมิน

ค่า
น้ำหนัก
(10)

คะแนนที่ได้
จากการประเมิน
(ค่าน้ำหนักXค่าคะแนน)

คะแนน

ระดับ
คุณภาพ

1

การจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี

5

ยอดเยี่ยม

6

30

2

การระดมทรัพยากรเพื่อการจัดการเรียนการสอน

5

ยอดเยี่ยม

2

10

3

การบริการชุมชนและจิตอาสา

5

ยอดเยี่ยม

2

10

ผลรวมคะแนนที่ได้จาการประเมิน

50

ร้อยละของคะแนน ด้านที่ 4 = (ผลรวมคะแนนที่ได้ X 100) / 50

100

สรุป ระดับคุณภาพสถานศึกษา ด้านที่ 4 ด้านการมีส่วนร่วม
ยอดเยี่ยม (ร้อยละ 80 ขึ้นไป) ดีเลิศ (ร้อยละ 70.00 – 79.99) ดี (ร้อยละ 60.00 – 69.99)
ปานกลาง (ร้อยละ 50.00 – 59.99) กำลังพัฒนา (น้อยกว่าร้อยละ 50.00)

 

5.1.5 ด้านปัจจัยพื้นฐาน

สถานศึกษาดำเนินการพัฒนาและดูแลสภาพแวดล้อม ภูมิทัศน์ อาคารสถานที่ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ แหล่งการเรียนรู้ โรงฝึกงาน หรืองานฟาร์ม และสิ่งอำนวยความสะดวกให้มีความพร้อมและเพียงพอต่อการใช้งานของผู้เรียนหรือผู้รับบริการ เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา ปรากฏผลดังตารางที่ 5.5

ตารางที่ 5.5 ผลการประเมินด้านปัจจัยพื้นฐานโดยภาพรวมและจำแนกเป็นรายการประเมิน

ข้อที่

รายการประเมิน

ผลการประเมิน

ค่า
น้ำหนัก
(10)

คะแนนที่ได้
จากการประเมิน
(ค่าน้ำหนักXค่าคะแนน)

คะแนน

ระดับ
คุณภาพ

1

อาคารสถานที่ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ โรงฝึกงาน หรืองานฟาร์ม

5

ยอดเยี่ยม

2

10

2

ระบบสาธารณูปโภคพื้นฐาน

5

ยอดเยี่ยม

2

10

3

แหล่งเรียนรู้และศูนย์วิทยบริการ

5

ยอดเยี่ยม

2

10

4

ระบบอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงเพื่อการใช้งานด้านสารสนเทศภายในสถานศึกษา

5

ยอดเยี่ยม

2

10

5

การเข้าถึงระบบอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงเพื่อการจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียน

5

ยอดเยี่ยม

2

10

ผลรวมคะแนนที่ได้จาการประเมิน

50

ร้อยละของคะแนน ด้านที่ 5 = (ผลรวมคะแนนที่ได้ X 100) / 50

100

สรุป ระดับคุณภาพสถานศึกษา ด้านที่ 5 ด้านปัจจัยพื้นฐาน
ยอดเยี่ยม (ร้อยละ 80 ขึ้นไป) ดีเลิศ (ร้อยละ 70.00 – 79.99) ดี (ร้อยละ 60.00 – 69.99)
ปานกลาง (ร้อยละ 50.00 – 59.99) กำลังพัฒนา (น้อยกว่าร้อยละ 50.00)

 

5.1.6 ผลการประเมินในภาพรวมของสถานศึกษา

สรุปผลการประเมินในภาพรวมของสถานศึกษาทั้ง 5 ด้าน ปรากฏผลดังตารางที่ 5.6

ตารางที่ 5.6 ผลการประเมินในภาพรวมของสถานศึกษาจำแนกเป็นรายด้าน

 

ที่

ด้านการประเมิน

ค่า
น้ำหนัก
(100)

คะแนนที่ได้
จากการประเมิน
แต่ละด้าน

ร้อยละของคะแนน
ที่ได้จากการประเมิน
(ผลรวมคะแนนที่ได้จากการประเมินของด้าน X น้ำหนักคะแนนของด้าน) / คะแนนรวมของด้าน

1

ผู้เรียนและผู้สำเร็จการศึกษา

50

230

(230 x 50) / 250 = 46.00

2

หลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน

10

38

(38 x 10) / 50 = 7.60

3

ครูผู้สอนและผู้บริหารสถานศึกษา

20

91

(91 x 20) / 100 = 18.20

4

การมีส่วนร่วม

10

50

(50 x 10) / 50 = 10.00

5

ปัจจัยพื้นฐาน

10

50

(50 x 10) / 50 = 10.00

ร้อยละคะแนนที่ได้จากการประเมินในภาพรวม

459

91.80

สรุป ระดับคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
ยอดเยี่ยม (ร้อยละ 80 ขึ้นไป) ดีเลิศ (ร้อยละ 70.00 – 79.99) ดี (ร้อยละ 60.00 – 69.99)
ปานกลาง (ร้อยละ 50.00 – 59.99) กำลังพัฒนา (น้อยกว่าร้อยละ 50.00)

ส่วนที่ 6
แผนพัฒนาเพื่อยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา


 

ประเด็นการพัฒนาเพื่อยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา

แผนพัฒนาเพื่อยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา (แผนงาน โครงการ กิจกรรม)

การพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะหรือปรับปรุงรายวิชาหรือปรับปรุงรรายวิชาเดิมหรือกำหนดรายวิชาเพิ่มเติม

โครงการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะหรือปรับปรุงรายวิชาหรือปรับปรุงรรายวิชาเดิมหรือกำหนดรายวิชาเพิ่มเติม

การพัฒนาตนเองและการพัฒนาวิชาชีพ

โครงการการพัฒนาตนเองและการพัฒนาวิชาชีพ

Close Menu